Working languages:
English to Thai
Japanese to Thai
Thai to English

Lionel Thananphopsakun
Linguistic scholar, translator & writer

Pak Kret, Nonthaburi, Thailand
Local time: 10:43 +07 (GMT+7)

Native in: Thai Native in Thai
  • Send message through ProZ.com
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info
No feedback collected
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Translation, Transcription, Copywriting, Editing/proofreading
Expertise
Specializes in:
LinguisticsArt, Arts & Crafts, Painting
MusicMedia / Multimedia
Poetry & LiteraturePhilosophy
PsychologyCinema, Film, TV, Drama
Cosmetics, BeautyCooking / Culinary

Volunteer / Pro-bono work Open to considering volunteer work for registered non-profit organizations

Rates
English to Thai - Rates: 0.04 - 0.06 USD per word / 3.50 - 5.00 USD per audio/video minute
Japanese to Thai - Rates: 0.04 - 0.06 USD per character / 3.50 - 5.00 USD per audio/video minute
Thai to English - Rates: 0.04 - 0.06 USD per word / 3.50 - 5.00 USD per audio/video minute
Japanese to English - Rates: 0.04 - 0.06 USD per character / 3.50 - 5.00 USD per audio/video minute
Thai - Rates: 0.04 - 0.06 USD per word / 3.50 - 5.00 USD per audio/video minute

KudoZ activity (PRO) Questions answered: 2
Portfolio Sample translations submitted: 9
English to Thai: (Song) He Said She Said - Chvrches
General field: Art/Literary
Detailed field: Music
Source text - English
He said, "You bore me to death"
"I know you heard me the first time" and
"Be sad, but don't be depressed"
Just think it over, over and
He said, "It's all in your head"
"But keep an ear to the grapevine" and
"Get drunk, but don't be a mess"
Keep thinkin' over, over

I try
But it's hard to hit rewind
When I feel like
I feel like I'm losin' my mind

Feel like I'm losin' my mind
Over and over, I
Feel like I'm losin' my mind
Feel like I'm losin' my mind
Over and over, I try
He said, "You need to be fеd"
"But keep an eye on your waistline" and
"Look good, but don't bе obsessed"
Keep thinkin' over, over

I try
But it's hard to know what's right
When I feel like I'm borrowin' all of my time
And it's hard to hit rewind
When I feel like
I feel like I'm losin' my mind

Feel like I'm losin' my mind
Over and over, I
Feel like I'm losin' my mind
Feel like I'm losin' my mind
Over and over, I
Feel like I'm losin' my mind
Over and over, I
Feel like I'm losin' my mind
Feel like I'm losin' my mind
Over and over
I try

Total Translated Words: 214 คำ

Total Translation Time: 26 นาที
Translation - Thai
เขาบอกว่า "หล่อนทำให้ชั้นเบื่อแทบตายเลย ชั้นรู้นะว่าหล่อนได้ยินชั้นตั้งแต่ครั้งแรก"
"ทุกข์ใจได้นะ แต่อย่าซึมเศร้า" ฉันได้แค่คิดวนไปแล้วก็วนไป
เขาบอกว่า "หล่อนก็รู้ทุกเรื่องนั่นแหละ แต่หล่อนก็ทำเป็นได้ยินเขาลือกันมาสิ"
"เมาได้นะ แต่อย่าทำตัวเป็นภาระ" ได้แต่คิดซ้ำแล้วแล้วก็ซ้ำเล่า

ฉันพยายามแล้ว
แต่มันยากเหลือเกินที่จะกดปุ่มย้อนกลับไป
ในตอนที่ฉันรู้สึกกำลังจะเป็นบ้า
ฉันรู้สึกกำลังจะเป็นบ้า
ซ้ำแล้วแล้วก็ซ้ำไป
รู้สึกแทบจะเป็นบ้า
รู้สึกเหมือนจะเป็นบ้าซ้ำแล้วซ้ำเล่า
ทั้งที่ฉันพยายามอยู่ตลอด

เขาบอกว่า "หล่อนจำเป็นต้องมีคนคอยเลี้ยงดูนะ แต่หล่อนก็ต้องระมัดระวังการโชว์สะดือของหล่อนด้วย"
"ก็ดูดีนะ แต่อย่าได้ใจไปเชียวล่ะ" ได้แต่คิดวนไปแล้วก็วนไป

ฉันพยายามแล้ว
แต่มันยากเหลือเกินที่จะรู้ว่าอะไรมันถูก
ในตอนที่ฉันรู้สึกเหมือนต้องยืมเวลาใครมาทั้งชีวิต
แล้วมันก็ยากที่จะกดปุ่มย้อนกลับไป
ในตอนที่ฉันรู้สึกกำลังจะเป็นบ้า
ฉันรู้สึกกำลังจะเป็นบ้า
ซ้ำแล้วก็ซ้ำไป
รู้สึกแทบจะเป็นบ้า
รู้สึกเหมือนจะเป็นบ้าซ้ำแล้วซ้ำเล่า
รู้สึกจะบ้าตาย
รู้สึกจะเป็นบ้าให้ได้วนแล้ววนไป
รู้สึกสติแทบจะแตก
รู้สึกจะประสาทแดกซ้ำแล้วก็ซ้ำไป
ทั้งที่ฉันพยายามอยู่ตลอด

จำนวนคำที่แปลทั้งหมด: 214 คำ

ระยะเวลาการแปลทั้งหมด: 26 นาที
English to Thai: BBC - Billie Eilish: Sexual misconduct is everywhere
General field: Art/Literary
Detailed field: Media / Multimedia
Source text - English
Billie Eilish: Sexual misconduct is everywhere

Singer Billie Eilish has spoken about the pervasiveness of sexual misconduct, describing it as being "everywhere".

In an interview with Vogue, she said she doesn't "know one girl or woman who hasn't had a weird experience, or a really bad experience".

"And men, too - young boys are taken advantage of constantly," she said.
Vogue interviewer Laura Snapes wrote that it also "happened to Eilish when she was younger", but added "the details are hers."

The Grammy award-winning, American singer-songwriter, 19, was discussing her new single Your Power, which is about an abuser taking advantage of a minor.

"It's an open letter to people who take advantage - mostly men," she said.

She also unveiled a new look in her photoshoot for the magazine, using it as an opportunity to hit back at those who discuss what she wears.

Describing the look as "classic, old-timey pin-up", the star's signature black and green hair is now platinum blonde (although the blonde colour first appeared a few weeks ago).

She said the colour change made her feel "more like a woman, somehow".

Eilish's previous baggy style of dress has often been hailed as refreshing when compared with that of other famous women who wear tighter, more revealing clothing, but Eilish told the magazine her dress sense was more about the onlookers' issues than her.

"Don't make me not a role model because you're turned on by me," she told Vogue, adding that her body "was the initial reason for my depression when I was younger".

"Suddenly you're a hypocrite if you want to show your skin, and you're easy and you're a slut and you're a whore. If I am, then I'm proud. Me and all the girls are hoes. Let's turn it around and be empowered in that. Showing your body and showing your skin - or not - should not take any respect away from you."

She said it was a male problem, not a female one.

"I really think the bottom line is, men are very weak," she says. "I think it's just so easy for them to lose it. 'You expect a dude not to grab you if you're wearing that dress?' Seriously, you're that weak? Come on!"

Source: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56969187

Total Translated Words: 376 words

Total Translation Time: 43 min
Translation - Thai
บิลลี่ ไอลิช: การประพฤติผิดทางเพศมีอยู่ทุกหนแห่ง

บิลลี่ ไอลิช นักร้องสาวได้พูดถึงความแพร่หลายของการประพฤติผิดทางเพศ พร้อมอธิบายว่ามันเป็นกัน “ทุกที่”

ระหว่างการให้สัมภาษณ์กับทางนิตยสาร Vogue เธอกล่าวว่าเธอ “ไม่รู้จักผู้หญิงหรือเด็กผู้หญิงคนไหนที่จะไม่เคยได้รับประสบการณ์แปลก ๆ หรือแม้แต่ประสบการณ์แย่ ๆ มาก่อนเลย”

“เช่นเดียวกันกับผู้ชาย เหล่าเด็กผู้ชายเองก็กำลังถูกเอาเปรียบอยู่เรื่อยมา” เธอกล่าว
ลอร่า สเนปส์ ผู้ให้สัมภาษณ์ของ Vogue เขียนไว้ว่ามันก็ “เกิดขึ้นกับตัวบิลลี่ ไอลิชด้วยตอนที่เธอยังเด็ก” แต่ก็ได้เสริมไว้ว่า “ส่วนรายละเอียดต่าง ๆ ก็อยู่กับตัวเธอเอง”

นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกันวัย 19 ปีที่ได้รับรางวัล The Grammy Award มานั้นได้พูดคุยเกี่ยวกับซิงเกิลใหม่ของเธอที่ชื่อ Your Power ซึ่งเกี่ยวกับผู้มีอำนาจที่มาใช้อำนาจในทางที่ผิดเพื่อเอาเปรียบผู้ด้อยอำนาจ

“มันเป็นจดหมายปลายเปิดถึงผู้คนที่คอยเอาเปรียบคนอื่น ซึ่งส่วนใหญ่ก็เป็นผู้ชาย” เธอกล่าว

แล้วเธอก็ยังได้เปิดตัวลุคใหม่ที่เธอได้ไปถ่ายแบบมากับทางนิตยสารดังกล่าว โดยใช้เป็นโอกาสในการตอบโต้ผู้ที่ซุบซิบเกี่ยวกับสิ่งที่เธอสวมใส่

เธออธิบายว่าลุคใหม่ดังกล่าวนั้นมัน “คลาสสิก โชว์เรือนร่างแบบแต่ยุคก่อน ๆ” แล้วผมสีดำกับเขียวประจำตัวเธอก็ได้กลายเป็นผมสีบลอนด์ขาวแล้วในตอนนี้ (ถึงแม้ว่าผมสีบลอนด์นั้นมันจะปรากฏให้เห็นครั้งแรกเมื่อไม่กี่สัปดาห์ก่อน)

เธอกล่าวว่าการเปลี่ยนสีผมนั้นทำให้เธอรู้ว่า “ได้เป็นผู้หญิงมากขึ้นนะ ประมาณนึง”
ชุดแนวโป่ง ๆ พอง ๆ ของบิลลี่แต่ก่อนนั้นมักถูกทักว่าดูน่าชื่นใจเมื่อเทียบกับพวกผู้หญิงดัง ๆ กลุ่มอื่นที่ใส่อะไรรัดรูปกว่า หรือชุดที่เผยเรือนร่างมากกว่า แต่บิลลี่ก็ได้บอกกับทางนิตยสารว่าสัมผัสการแต่งตัวของเธอมันขึ้นกับพวกปัจจัยของคนที่มองมามากกว่าตัวเธอเอง

“อย่าทำให้ฉันอดเป็นแบบอย่างแค่เพราะว่าคุณมีอารมณ์ทางเพศกับฉัน” เธอบอกกับทาง Vogue พร้อมเสริมว่าเรือนร่างของเธอนั้น “เป็นต้นเหตุของภาวะซึมเศร้าของเธอตอนที่เธอยังเด็ก”

“คุณจะกลายเป็นคนตอแหลทันใดที่ถ้าคุณอยากเผยเนื้อหนังมังสาของคุณ แล้วคุณก็จะมาเป็นพวกใจง่าย มาเป็นพวกร่าน มาเป็นพวกกะหรี่ ซึ่งถ้าฉันเป็นจริง ๆ ฉันก็จะภูมิใจ ก็ให้ฉันและผู้หญิงทุกคนเป็นกะหรี่กันให้หมดเลย มาพลิกด้านเหรียญแล้วดึงพลังมาจากมันกันเถอะ การที่คุณจะเผยเนื้อหนังเผยเรือนร่างของคุณหรือไม่นั้นมันไม่ควรพรากเกียรติอะไรไปจากคุณได้เลย”

เธอกล่าวว่ามันเป็นปัญหาของเพศชาย ไม่ใช่ปัญหาของเพศหญิง

“ฉันคิดจริง ๆ นะว่าปัจจัยหลัก ๆ คือพวกผู้ชายนั้นอ่อนแอมาก” เธอกล่าว “ฉันคิดว่ามันช่างง่ายมากเลยสำหรับพวกเขานะที่จะสูญเสียมันไป ‘เธอคาดหวังไม่ให้ผู้ชายที่ไหนมาจับเนื้อต้องตัวเธอเมื่อเธอใส่ชุดนั้นงั้นเหรอ?’ จริงจังเลยนะ พวกแกอ่อนแอกันขนาดนั้นเลยเหรอ? ไม่เอาน่า!”

ที่มา: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56969187

จำนวนคำที่แปลทั้งหมด: 376 คำ

ระยะเวลาการแปลทั้งหมด: 43 นาที
English to Thai: BBC - Britney Spears: Does the latest documentary tell us anything new?
General field: Art/Literary
Detailed field: Media / Multimedia
Source text - English
Britney Spears: Does the latest documentary tell us anything new?

A new BBC documentary about Britney Spears is the latest attempt to shed light on the conservatorship she has been under since 2008. But does it tell us anything new about what's going on behind the scenes?

You wait ages for a Britney Spears documentary, and then four come along at once.
The New York Times kicked off the Britney bandwagon with the February release of Framing Britney Spears - a 75-minute film which examined how the singer has been treated by the media and those around her over the years. There wasn't necessarily much new information about her current situation or state of mind, but that didn't matter - its impact was seismic.

The well-chosen archive footage prompted a new wave of social media scorn for the journalists and chat show hosts who sexualised or upset her in those early years of fame. It even elicited an apology from her ex-boyfriend Justin Timberlake for his previous behaviour towards her.

Framing Britney Spears also shone a spotlight on the conservatorship the singer has been under since 2008. The arrangement means she is not in control of large parts of her life, particularly her financial affairs, after a very public breakdown. Such orders are usually put in place by judges to protect people who are physically infirm or mentally unstable.

There are two separate conservatorships - one for Britney as a person and one for her estate. Her father Jamie Spears was initially put in charge of both. However, he stepped down as her personal conservator in 2019 due to personal health reasons, and a temporary conservator took over. He still has control of her estate, but a judge has ordered he share responsibility with a financial management company.

Rumours, campaigns and conspiracy theories have swirled around the case in recent years, with Britney's fans scrutinising her erratic social media posts for apparent clues about her condition. Very few people, however, genuinely know all the details of what's going on. And that is precisely what makes the subject such catnip for documentary makers.

In light of the renewed interest, Netflix commissioned their own Britney film, which is currently in development. Reports also emerged of a separate documentary Britney is said to be working on herself with an as-yet-unannounced female director.

For now, though, we've got The Battle for Britney: Fans, Cash and a Conservatorship, released on BBC iPlayer on Saturday and due to air on BBC Two next week. It's been made by filmmaker Mobeen Azhar, who previously won a Bafta as a producer of the series Muslims Like Us.

The problem facing all journalists examining this case, including Azhar, is that very few of them succeed in getting anywhere close to the action. There is a tight circle around Britney and most filmmakers come up against brick walls when they try to reach her. She is, appropriately, Overprotected.

In this regard, Azhar does at least have something that many of his fellow journalists lack: He was granted access to one of Britney's conservatorship hearings in December 2020. We, the viewers, are informed of this at the beginning of the documentary, and for the next hour we wait patiently for this climax, hearing from a variety of talking heads along the way.

Many of the usual suspects are here - celebrity blogger Perez Hilton crops up to apologise (again) for his treatment of Britney at the height of his website's popularity. Jordan Miller, the founder of fan site Breathe Heavy, discusses how he first coined the phrase "Free Britney", which was later adopted as the hashtag and slogan of fan campaigns.
The documentary isn't afraid, though, to show the dark side of the fandom. Choreographer Brian Friedman reveals he quit working for Britney after receiving "multiple death threats weekly" from fans, which he says were due to a comment he made in an interview about how the star's dance moves had changed after becoming a mother. "That, to me, was no longer fun, so I decided to bow out gracefully," he explains. "I wished Britney the best, and I then walked away, and my ulcer went away."

It also explores whether the conservatorship had any positive impacts on her life. During an interview filmed at his Los Angeles home, Hilton says: "If she didn't have a conservatorship in place, I would be concerned that Britney would be dead, truly." This is a strand of opinion often lacking from the debate; and it's worth remembering Britney recorded albums, toured the world and sustained a successful Las Vegas residency while under the conservatorship.

But it's very clear that she was no longer happy with her father being in control of many aspects of her life, and that, understandably, is all that matters to her followers. The documentary sees Azhar speaking to the dedicated fans who have rigorously campaigned for her to be granted her independence.

Jamie Spears has said that Britney has always had the right to request an end to the conservatorship, which she has never exercised. Indeed, she has previously referred to the arrangement as "voluntary". This suggests she doesn't currently object to the conservatorship itself, but to the fact it was her father who remained in charge, as opposed to somebody she nominated herself.

The filmmaker also interviews make-up artist Billy Brasfield, who claims to still be in regular contact with the 39-year-old. "She wants to be able to drive her car when she wants to. In her conservatorship, she does not have that right," he says.

To Azhar's credit, nearly all of the documentary is made up of new interviews and footage. He doesn't rely too heavily on archive material and some of what he finds is genuinely enlightening.

His trip to Britney's hometown, Kentwood in Louisiana, sees him speak to staff at her favourite restaurant, who talk about the polite girl, oblivious to her own worldwide fame, who continued to visit long after she became successful. "Sweet girl, I've met her several times," one waitress tells him. "She's a down-to-earth person. If you didn't know who she was, you would think she was just a regular customer coming in."

He visits a museum dedicated to her, packed with memorabilia and fan art, owned by a woman who says she gets upset by any negative coverage of her home-town hero. Blame is often, and often rightly, placed on the media when it comes to Britney. But one photographer tells Azhar he doesn't regret his pursuit of her, and suggests Britney always knew how to use the paparazzi to her advantage.

Eventually, we reach the day of the conservatorship hearing. The cameras, naturally, aren't allowed in, but Azhar does a piece-to-camera immediately afterwards to summarise what took place. He describes it as "two hours of dry legal debate", during which Britney's father Jamie dialled in remotely, and notes that there's no discussion about whether or not the conservatorship should end. "It felt like the only people winning were the lawyers," he notes.

The Battle for Britney is interesting and enjoyable - you wouldn't regret giving it an hour of your time. But for those who have been closely following the story in recent years, it doesn't really tell us anything new. We're no further forward in understanding Britney's state of mind, and still haven't heard directly from the key players in the case.

"I don't have any clue what's going to happen with Britney's conservatorship, and no-one that you've spoken to probably does either," Hilton observes at one point, correctly.
That could be about to change. Earlier this week, Britney's lawyer announced the singer had requested to "address the court directly" at a forthcoming conservatorship hearing in June. That could potentially offer some insight, assuming it happens.

For now, however, Britney isn't talking to the media. Even if a filmmaker maker were to get the holy grail - an interview with the woman herself - there's still no guarantee we'd get the full picture. Would she genuinely be free to speak her mind?

In the absence of the details they need, these documentaries generally hover around the edges, examining the surrounding circus more than the story at the centre of it. They have put the singer firmly back in the headlines, this time accompanied by an outpouring of support and sympathy from the general public. But Britney openly admitted on her Instagram page that she was upset by the release of Framing Britney Spears, which raises questions about how much the additional public attention is helping her, even if it is largely on her side.

Source: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56801778

Total translated words: 1435 คำ

Total translation time: 2 ชั่วโมง 52 นาที
Translation - Thai
บริตนีย์ สเปียร์ส: สารคดีล่าสุดเกี่ยวกับเธอได้บอกอะไรใหม่ ๆ ให้เราฟังหรือไม่?

สารคดีเรื่องใหม่ของบีบีซีเกี่ยวกับบริตนีย์ สเปียร์ส เป็นความพยายามครั้งล่าสุดที่จะสร้างความกระจ่างให้กับปัญหาของผู้คุ้มครองชีวิตเธอที่เธอเผชิญมาตั้งแต่ปี 2551 แต่มันได้บอกอะไรใหม่ให้เราได้รู้บ้างเกี่ยวกับสิ่งเกิดขึ้นในเบื้องหลัง?

พวกคุณคงได้รอกันมาหลายปีแล้วสำหรับสารคดีของบริตนีย์ สเปียร์ส ซึ่งจากนั้นก็มีออกมาพร้อมกันทีเดียวสี่เรื่องเลย

ทางหนังสื่อพิมพ์ The New York Times ได้เริ่มปลุกกระแสกลุ่มผู้สนับสนุนบริตนีย์ด้วยการปล่อย Framing Britney Spears ภาพยนตร์สารคดีที่มีความยาว 75 นาทีในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งภาพยนตร์ดังกล่าวได้ตรวจสอบลักษณะการปฏิบัติต่อเธอของสื่อมวลชนและคนรอบข้างเธอในหลายปีมานี้ ยังคงไม่มีข้อมูลใหม่มากมายนักเกี่ยวกับสถานการณ์หรือสภาวะทางจิตใจของเธอในตอนนี้ แต่นั่นก็ไม่ได้สำคัญอะไร เพราะกระแสตอบรับของสารคดีนั้นมันสนั่นหวั่นไหวมาก

ภาพบันทึกที่ถูกเก็บถาวรไว้ซึ่งได้รับการคัดเลือกมาเป็นอย่างดีได้กระตุ้นให้เกิดกระแสโซเชิลมีเดียระลอกใหม่สำหรับนักข่าวและผู้จัดรายการแชทโชว์ที่เหยียดเพศหรือทำให้เธอไม่พอใจในช่วงปีแรก ๆ ที่เพิ่งโด่งดัง มันถึงขั้นทำให้แฟนเก่าของเธออย่างจัสติน ทิมเบอร์เลคต้องออกมาแสดงความขอโทษสำหรับพฤติกรรมของเขาที่มีต่อเธอก่อนหน้านั้น

การจำกัดขอบเขตให้บริตนีย์ สเปียร์สยังเรียกกระแสให้กับเรื่องอำนาจผู้คุ้มครองชีวิตที่เธอตกอยู่ภายใต้มันมาตั้งแต่ปี 2551 ข้อกำหนดดังกล่าวส่งผลให้เธอไม่ได้มีสิทธิควบคุมชีวิตหลายส่วนใหญ่ ๆ ของเธอเอง โดยเฉพาะเรื่องทางการเงินของเธอที่เธอเสียหายไปสู่สาธารณะ ข้อกำหนดเหล่านั้นมักถูกกำหนดโดยผู้พิพากษาเพื่อเข้าข้างผู้ที่มีร่างกายไม่แข็งแรง หรือไม่มีความมั่นคงทางจิตใจ

อำนาจการคุ้มครองชีวิตนั้นมันสองประเภท ประเภทแรกมีไว้เพื่อตัวบริตนีย์เอง กับอีกประเภทที่มีไว้เพื่อทรัพย์สินที่ดินของเธอ พ่อของเธอได้รับอนุมัติให้ครองครองอำนาจทั้งสองในทันที อย่างไรก็ตามเขาก็ได้ลงมาจากตำแหน่งผู้คุ้มครองชีวิตส่วนตัวของเธอในปี 2562 อันเนื่องมาจากปัญหาสุภาพ จากนั้นผู้คุ้มครองชั่วคราวจึงเข้ามาทำงานแทนที่เขา ตอนนี้เขายังคงมีอำนาจควบคุมทรัพย์สินที่ดินของเธอ แต่ผู้พิพากษาได้สั่งให้เขาแบ่งความรับผิดชอบมาที่บริษัทจัดการทางเงินบริษัทหนึ่งด้วย

พวกข่าวลือ พวกแคมเปญ และพวกทฤษฎีสมคบคิดทั้งหลายต่างได้พัวพันอยู่กับปัญหาในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ โดยเหล่าแฟน ๆ ของบริตนีย์ต่างคอยสอดส่องโพสต์บนโลกโซเชียลที่สั่นคลอนของเธอเพื่อหาเบาะแสที่ชัดเจนเกี่ยวกับความเป็นไปของเธอ อย่างไรก็มีเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่รู้รายละเอียดทั้งหมดอย่างแท้จริงว่ามันเกิดอะไรขึ้น และแน่นอนว่านั่นคือสิ่งที่ทำให้ปัญหาดังกล่าวเป็นดั่งต้นกล้าที่งอกขึ้นให้ผู้สร้างสารคดีดังกล่าวได้เด็ดไปสานต่อ

ในด้านความสนใจที่ถูกเรียกขึ้นมาใหม่นั้น ทางเน็ตฟลิกซ์ได้รับจ้างให้สร้างภาพยนตร์เป็นของตัวเองเกี่ยวกับบริตนีย์ ซึ่งยังอยู่ในระหว่างการพัฒนา ณ ปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีรายงานที่เผยเรื่องสารดคีที่แยกต่างหากซึ่งมีแหล่งบอกว่าบริตนีย์เป็นผู้สร้างเองร่วมกับผู้กำกับหญิงที่ยังไม่ได้เปิดเผยว่าเป็นใคร

ถึงแม้ว่าตอนนี้เราจะมีสารคดีเรื่อง The Battle for Britney: Fans, Cash and a Conservatorship (แปล: การต่อสู้ของบริตนีย์: แฟนคลับ เงิน และการเป็นผู้คุ้มครองชีวิต) ที่ปล่อยลงบน BBC iPlayer เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา และมีกำหนดออกอากาศทาง BBC Two ในสัปดาห์หน้า สารคดีดังกล่าวสร้างโดยผู้สร้างภาพยนตร์โมบีน อัซซาร์ ผู้ที่ก่อนหน้าได้รับรางวัล Bafta ด้านการเป็นผู้อำนาจการสร้างซีรีส์เรื่อง Muslims Like Us (มุสลิ่มอย่างพวกเรา)

ปัญหาที่นักข่าวทุกคนกำลังเผชิญในการตรวจสอบปัญหานี้ รวมถึงตัวอัซซาร์เอง คือการที่มีเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่เข้าใกล้การดำเนินการดังกล่าวได้สำเร็จ เพราะมีผู้คนอัดแน่นอยู่รอบตัวบริตนีย์เต็มไปหมด และผู้สร้างภาพยนตร์ส่วนใหญ่ก็ต้องเผชิญกับกำแพงอิฐขนาดใหญ่นั่นตอนที่พวกเขาพยายามเข้าถึงตัวเธอ สมอย่างที่รู้กันว่าเธอคือคนที่ Overprotected (ได้รับการคุ้มครองเกินไป)

อย่างน้อยในเรื่องนี้ อัซซาร์ก็มีบางอย่างที่เพื่อนนักข่าวหลายคนของเขาไม่มี นั้นคือเขาได้รับสิทธิ์การเข้าร่วมพิจารณาคดีสิทธิการคุ้มครองชีวิตของบริตนีย์ในเดือนธันวาคมปี 2563 พวกเราในฐานะผู้ชมก็ได้รับแจ้งเรื่องนี้ตั้งแต่ตอนช่วงแรกของสารคดีนั้น และในชั่วโมงถัดไปเราก็รออย่างอดทนใจเพื่อดูจุดสำคัญของสารคดีนี้ ระหว่างนั้นก็ได้ฟังหลายคนพูดคุยกันหลายเรื่องไปเรื่อย ๆ ด้วย

มีผู้ที่เป็นที่ต้องสงสัยอยู่เรื่อยมาหลายคนอยู่ที่นี่ เช่นบล็อกเกอร์ชื่อดัง เปเรซ ฮิลตัน ได้ขึ้นมากล่าวมาขอโทษ (อีกครั้ง) สำหรับการปฏิบัติตนต่อบริตนีย์ของเขาตอนที่ความนิยมเว็บไซต์ของเขาอยู่ในอยู่ช่วงขาขึ้น หรือผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ของฐานแฟนคลับของ Breathe Heavy อย่างจอร์แดน มิลเลอร์ก็ได้พูดคุยเรื่องที่เขาสร้างวลี “ปล่อยตัวบริตนีย์” (“Free Britney”) ขึ้นมาเป็นครั้งแรก ที่ภายหลังถูกนำมาประยุกต์ใช้เป็นแฮชแท็กและคำขวัญของแคมเปญต่าง ๆ ของกลุ่มแฟนคลับ

อย่างไรก็ตามสารคดีดังกล่าวก็ไม่ได้เกรงกลัวที่จะเผยด้านมืดของฐานแฟนคลับเองแต่อย่างใด นักออกแบบท่าเต้นอย่างไบรอัน ฟรีดแมน เผยว่าเขาได้ลาออกจากการทำงานร่วมกับบริตนีย์หลังจากได้รับพวก “การข่มขู่ฆ่ารายสัปดาห์” จากแฟน ๆ ซึ่งเขากล่าวว่ามันเกิดจากความเห็นที่เขาได้ให้ไว้ตอนสัมภาษณ์เกี่ยวกับท่าเต้นของบริตนีย์ที่ได้เปลี่ยนไปหลังจากได้กลายเป็นแม่คนแล้ว “สำหรับผมแล้ว นั่นมันไม่สนุกอีกต่อไปแล้ว ผมจึงได้ตัดสินใจที่จะก้มตัวอำลาอย่างสวยงาม” เขาอธิบาย “ผมหวังดีกับบริตนีย์ที่สุดแล้ว จากนั้นผมก็เดินจากไป แล้วแผลเปื่อยของผมก็ได้หายไป”

นอกจากนี้สารคดีดังกล่าวยังสำรวจด้วยว่าอำนาจการคุ้มครองชีวิตส่งพลังบวกให้กับชีวิตเธอหรือไม่ ฮิลตันกล่าวว่า “ถ้าเธอไม่มีผู้รับหน้าที่คุ้มครองชีวิตเธอ ผมกังวลว่าเธอคงจะตายไปแล้ว” ในช่วงที่สัมภาษณ์ที่ถ่ายที่บ้านของเขาในลอส แองเจลิส นี่คือพวกความเห็นที่มักขาดหายไปตอนที่อภิปรายกัน และมันก็คุ้มค่าที่จะจดจำว่าบริตนีย์ได้อัดอัลบั้ม ได้เดินคอนเสิร์ตทัวร์ไปทั่วโลก และได้รักษาคอนเสิร์ตประจำเมืองที่ลาสเวกัสให้ประสบความสำเร็จได้ในระหว่างที่เธออยู่ภายใต้การคุ้มครองนั้น

แต่มันก็ชัดเจนมากว่าเธอไม่มีความสุขอีกเลยกับพ่อของเธอที่เข้ามาควบคุมหลายสิ่งหลายอย่างในชีวิตของเธอ และนั่นก็เป็นที่เข้าใจได้ว่ามันคือทุกเรื่องที่สำคัญกับกลุ่มคนที่ติดตามเธอเช่นกัน สารคดีดังกล่าวได้เห็นว่าอัซซาร์ได้พูดกับกลุ่มแฟนคลับที่ทุ่มเทสุดหัวใจเพื่อรณรงค์อย่างเคร่งครัดให้เธอได้รับอิสรภาพด้วย

เจมี่ สเปียร์ส กล่าวว่าบริตนีย์มีสิทธิขอให้ยุติการเป็นผู้คุ้มครองชีวิตนั้นมาตลอด ซึ่งเธอไม่เคยใช้สิทธิ แน่นอนว่าแล้วเธอเคยอ้างถึงการจัดการดังกล่าวว่าเป็น “ความสมัครใจ” มั่นบ่งบอกว่าในขณะนี้เธอไม่ได้ต่อต้านการเป็นผู้คุ้มครองชีวิต แต่จริง ๆ แล้วกลับเป็นพ่อของเธอเองที่ยังคงทนรับผิดชอบบทบาทนั้นไว้เอง ไม่ใช่คนที่เธอเสนอบทบาทให้ด้วยตัวเอง

ผู้สร้างภาพยนตร์ดังกล่าวก็ได้สัมภาษณ์ บิลลี่ บราสฟิลด์ ช่างแต่งหน้าที่อ้างว่าเขายังคงติดต่อกับบริตนีย์ สาววัย 39 ปีคนนี้ “เธอก็อยากจะขับรถของเธอเมื่อไหร่ก็ได้ที่เธอต้องการภายใต้การโดนคุ้มครองชีวิตนั้นนะ แต่เธอไม่มีสิทธิ์นั้น” เขากล่าว

เป็นเพราะอัซซาร์ที่ทำให้สารคดีดังกล่าวเกือบทั้งหมดมีบทสัมภาษณ์และฟุตเทจใหม่ ๆ เขาไม่ได้พึ่งพาอะไรมากกับพวกองค์ประกอบที่เก็บซ่อนเอาไว้พร้อมกับบางอย่างที่เขาค้นพบนั้นที่มันได้สร้างความกระจ่างอย่างแท้จริง

การเดินทางของเขาเพื่อไปเคนต์วู้ด บ้านเกิดของบริตนีย์ที่หลุยส์เซียนา ทำให้เห็นตอนที่เขาพูดกับทีมงานในร้านอาหารสุดโปรดของเธอที่ได้พูดเรื่องสาวแสนสุภาพแบบที่ขัดกับชื่อเสียงอันกังวาลโลกของเธอ สาวคนนั้นที่คอยมาเยี่ยมเยือนร้านของพวกเขามาอย่างยาวนานหลังจากที่เธอประสบความสำเร็จ “สาวน้อยเอ๊ย ดิฉันเจอเธอมาหลายหนแล้ว” พนักงานเสิร์ฟหญิงคนหนึ่งบอกกับเขา “เธอเป็นคนติดดินมาก ถ้าคุณไม่ได้รู้ว่าเธอเป็นใครมาก่อน คุณคงจะคิดว่าเธอเป็นเพียงแค่ลูกค้าประจำทั่ว ๆ ไปที่เขามาใช้บริการ”

เขาไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเธออันเต็มไปด้วยของที่ระลึกและงานศิลป์จากแฟนคลับของเธอ ซึ่งครอบครองโดยผู้หญิงที่กล่าวว่าเธอจะไม่พอใจกับการรายงานข่าวเชิงลบใด ๆ ก็ตามเกี่ยวกับวีรสตรีแห่งบ้านเกิดเมืองนอนของเธอ การตำหนินั้นมักจะถูกเล็งเป้าโดยตรงไปที่สื่อถ้ามันมาเกี่ยวข้องกับบริตนีย์ แต่ก็มีช่างภาพคนหนึ่งได้บอกกับอัซซาร์ว่าเขาไม่ได้เสียใจกับการไล่ตามบริตนีย์ และได้บอกว่าเธอรู้มาตลอดว่าจะใช้ประโยชน์กับพวกปาปารัสซี่ได้ยังไง

ในที่สุดเราก็มาถึงวันแห่งการพิจารณาคดีอำนาจคุ้มครองชีวิตดังกล่าว โดยธรรมชาติแล้วจะไม่มีการอนุญาติให้นำกล้องเข้ามา แต่อัซซาร์ได้จับกล้องทันทีหลังจากนั้นเพื่อสรุปสิ่งที่เกิดขึ้น เขาเล่าว่ามันเป็น “สองชั่วโมงแห่งการอภิปรายทางกฎหมายแห้ง ๆ ไม่มีอะไรคืบหน้าเลย” การอภิปรายที่ในระหว่างนั้นเอง เจมมี่ พ่อของบริตนีย์ก็ได้โทรเข้ามาจากที่ไกล พร้อมชี้แจงว่าไม่มีการพูดคุยกันว่าอำนาจการคุ้มครองชีวิตนั้นควรจบลงหรือไม่ “มันทำให้รู้สึกเหมือนกลุ่มคนที่ชนะเพียงกลุ่มเดียวคือพวกทนายความ” เขาชี้แจงดังกล่าว

The Battle for Britney นั้นเป็นสารคดีที่น่าสนใจและน่าเพลิดเพลินแบบที่คุณจะไม่เสียใจที่ทนแลกเวลาหนึ่งชั่วโมงของคุณกับมัน แต่สำหรับผู้คนที่คอยติดตามเรื่องราวของเธอที่ผ่านมาไม่กี่ปีอย่างใกล้ชิดนั้น มันไม่ได้บอกอะไรใหม่ ๆ ให้พวกเรารู้เลยจริง ๆ เราไม่ได้ไปไกลขึ้นจากเดิมเลยกับความเข้าใจที่เรามีต่อสภาพจิตใจของบริตนีย์ แล้วก็ยังคงไม่ได้ยินอะไรโดยตรงจากผู้ที่เกี่ยวข้องหลักในคดีนี้เลย
“ฉันไม่มีเบาะแสอะไรเลยว่ามันเกิดอะไรขึ้นกับประเด็นอำนาจการคุ้มครองชีวิตของบริตนีย์ แล้วก็คงไม่มีใครที่คุณเคยพูดคุยด้วยรู้ด้วยเหมือนกัน” ฮิลตันได้แสดงความเห็นในจุดหนึ่ง ซึ่งก็ถูกต้องตามนั้น

แต่มันอาจจะกำลังเปลี่ยนแปลงไปก็ได้ เมื่อช่วงต้นสัปดาห์นี้ ทนายความฝั่งบริตนีย์ได้ประกาศแล้วว่าทางตัวนักร้องเองได้ขอ “ส่งคำพูดถึงศาลโดยตรง” ในการพิจารณาคดีอำนาจการคุ้มครองชีพที่กำลังจะมีอีกในเดือนมิถุนายนนี้ ถ้าสมมติว่ามันเกิดขึ้นจริงมันอาจให้ข้อมูลเชิงลึกอะไรกับเราได้บ้าง

อย่างไรก็ตามในตอนนี้บริตนีย์จะยังไม่ได้พูดคุยกับสื่อ ถึงแม้ว่าผู้สร้างภาพยนตร์จะได้สิทธิพิเศษนั้นที่จะเข้าสัมภาษณ์เธอโดยตรงเอง มันก็ยังรับประกันอะไรไม่ได้ว่าเราจะได้เห็นภาพรวมทั้งหมดของคดีนี้ แล้วเธอจะมีอิสระที่แท้จริงที่จะได้พูดความในใจออกมาหรือไม่?

ในกรณีที่ไม่มีรายละเอียดที่พวกเขาต้องการขึ้นมา สารคดีเหล่านี้ก็จะแค่ยังคงวนเวียนไปตามแหล่งต่าง ๆ ต่อไป คอยตรวจสอบงานละครสัตว์ที่แวดล้อมมากกว่าเรื่องราวที่อยู่ตรงใจกลางของมัน พวกเขาได้ทำให้นักร้องสาวกลับมาอยู่บนพาดหัวข่าวได้อย่างมั่นคง ซึ่งคราวนี้ก็ได้รับความร่วมมือจากแรงสนับสนุนและกำลังใจอันล้มหลามจากคนทั่วไป อย่างไรก็ตามบริตนีย์ได้ยอมรับอยากเปิดอกบนอินสตาแกรมของเธอเองว่าเธอไม่พอใจกับการปล่อยสารคดี Framing Britney Spears ที่ทำให้เกิดคำถามมากมายเรื่องคนทั่วไปที่สนใจปัญหาของเธอที่เสริมทัพมาช่วยเธอนั้นช่วยเธอได้มากเท่าไหร่ ถึงแม้ว่าคนโดยส่วนใหญ่จะอยู่ฝั่งเธอก็ตาม

ที่มา: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56801778

จำนวนคำที่แปลทั้งหมด: 1435 คำ

ระยะเวลาการแปลทั้งหมด: 2 ชั่วโมง 52 นาที
English to Thai: BBC - Grammy Awards scrap controversial voting committees
General field: Art/Literary
Detailed field: Music
Source text - English
Grammy Awards scrap controversial voting committees

The organisers of the Grammy Awards have scrapped their anonymous voting committees following allegations of rigging, favouritism and racism.

The Recording Academy said its voting members - which run into thousands - would instead select next year's nominations and winners.

Stars such as Zayn Malik and Halsey had claimed the selection process was unfair and lacked transparency.

Artists of colour have long-criticised the awards for a lack of diversity.

Earlier this year, the Canadian singer The Weeknd accused the Grammy organisers of being corrupt after he was snubbed in this year's nominations, despite a hit single that spent a record-breaking 52 weeks in the US Top 10.

The Recording Academy, a not-for-profit organisation that represents music makers, said that the selection of nominees and winners was being "placed back in the hands of the entire voting membership body".

It added that more than 90% of its members would go through a "requalification process" to ensure that the voting body "is actively engaged in music creation".

The Academy said it was also reducing a number of categories in which voters may vote, and adding two new award categories.

Harvey Mason, chair and interim president of the Recording Academy, said it had been a "year of unprecedented, transformational change" for the organisation.

"This is a new Academy, one that is driven to action and that has doubled down on the commitment to meeting the needs of the music community," he said.

The Grammys voting procedure had been notoriously complex, with committees made up of 15-30 "highly-skilled music peers" having the final say in 72 categories. This meant they could overrule the votes of rank-and-file members.

Last year, the then-chief executive of the Recording Academy, Deborah Dugan, claimed to have evidence of "serious" irregularities in the voting. Her claims came after she was placed on administrative leave following allegations of misconduct, although she said it was in retaliation for speaking up.

Five days before this year's ceremony, Zayn Malik - who has never been nominated - had tweeted: "Unless you shake hands and send gifts, there's no nomination considerations. Next year I'll send you a basket of confectionery."

He later clarified he was concerned "about the need for inclusion and the lack of transparency of the nomination process", saying the current system "allows favouritism, racism, and networking politics to influence the voting".

Meanwhile, The Weeknd, whose real name is Abel Tesfaye, told Billboard magazine: "If you were like, 'Do you think the Grammys are racist?' I think the only real answer is that in the last 61 years of the Grammys, only 10 Black artists have won album of the year."

Source: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56953057

Total translated words: 444 คำ

Total translation time: 1 ชั่วโมง 37 นาที
Translation - Thai
รางวัลแกรมมี่ได้ปลดกลุ่มคณะกรรมการลงคะแนนที่เป็นประเด็นแล้ว

ผู้จัดตั้งงานมอบรางวัลแกรมมี่ได้ปลดเหล่าคณะกรรมการการลงคะแนนที่ไม่เปิดเผยตัวตนไปตามข้อกล่าวหาเกี่ยวกับการแต่งกาย การเล่นพรรคเล่นพวก และการเหยียดเชื้อชาติ

Recording Academy ได้กล่าวว่ากลุ่มสมาชิกที่ร่วมลงคะแนนซึ่งมีจำนวนตั้งหลายพันคนนั้นจะต้องเลือกผู้เข้าชิงหรือผู้ชนะในปีถัดไปแทน

ดาราหลายคนอย่าง เซน มาลิค และ ฮัลซีย์ ได้อ้างว่ากระบวนการตัดสินนั้นไม่ยุติธรรมและขาดความโปร่งใส
ศิลปินผิวสีหลายคนเองก็วิพากษ์วิจารณ์รางวัลพวกนี้มานานแล้วว่าขาดความหลากหลาย

เมื่อช่วงต้นปีนี้ The Weeknd นักร้องชาวแคนาดากล่าวหาผู้จัดตั้งงานมอบรางวัลแกรมมี่ว่ามีการทุจริตหลังจากที่เขาถูกหมิ่นประมาทในการเสนอชื่อเข้าชิงปีนี้ ถึงแม้ว่าเขาจะมีซิงเกิลที่โด่งดังติดอันดับชาร์ท US Top 10 ยาวนานถึง 52 สัปดาห์ก็ตาม

องค์กรไม่แสวงผลกำไรอย่าง Recoding Academy ซึ่งเป็นตัวแทนของคนทำเพลงทั้งหลายได้กล่าวว่าการคัดเลือกผู้เข้าชิงและผู้ชนะนั้นมันกำลัง “กลับมาอยู่ในมือของบรรดาสมาชิกผู้ร่วมลงคะแนนทั้งหมดทุกคน”

ทางองค์กรยังเสริมอีกว่ากว่า 90% ของสมาชิกทั้งหมดจะต้องผ่าน “กระบวนการพิจารณาคุณสมบัติใหม่” เพื่อสร้างความแน่ใจว่าคนที่ลงคะแนนนั้น “เป็นคนที่ยังทำงานในแวดวงการทำเพลงอยู่”

ทางองค์กรกล่าวว่านั่นยังเป็นการลดจำนวนประเภทที่ผู้เข้าร่วมการลงคะแนนจะลงคะแนนให้ได้ พร้อมกับได้เพิ่มประเภทรางวัลใหม่อีกสองประเภท
ฮาร์วีย์ เมสัน เจ้าภาพงานและประธานชั่วคราวขององค์กร Recording Academy ได้กล่าวว่ามันเป็น “ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่แปรรูปไปอย่างไม่เคยเกิดขึ้นที่ไหนมาก่อน” สำหรับองค์กร

นี่คือโฉมใหม่ขององค์กรเลยที่ทำให้องค์กรได้ลงมือปฏิบัติและได้ทวีคูณการตอบสนองความต้องการของชุมชนชาวดนตรี” เขากล่าว

ขั้นตอนการลงคะแนนของงาน Grammys นั้นเป็นที่รู้กันกระฉ่อนเลยว่ามันซับซ้อน ซึ่งมีคณะกรรมการได้แก่ “เหล่าเพื่อนร่วมวงการดนตรีที่ชำนาญทักษะ” 15-30 คนที่ได้พูดกล่าวทิ้งท้ายตอนรับรางวัลทั้ง 72 ประเภท นี่หมายความว่าพวกเขาสามารถลบล้างคะแนนของผู้ลงคะแนนทั่ว ๆ ไปได้

ปีที่ผ่านมา เดบอราห์ ดูแกน ผู้บริหารระดับสูงของสถาบัน Recording Academy ในตอนนั้นได้อ้างว่ามีหลักฐานของความผิดปกติอย่าง “ร้ายแรง” ที่เกิดขึ้นตอนลงคะแนน ถึงแม้ว่าเธอจะกล่าวว่ามันเป็นการแก้เผ็ดที่ได้พูดขึ้นมาอย่างเปิดเผย แต่คำกล่าวอ้างของเธอเกิดขึ้นหลังจากที่เธอถูกสั่งปลดจากการทำงานชั่วคราวตามข้อหาการประพฤติตนไม่เหมาะสม

ห้าวันก่อนงานรับรางวัลปีนี้ เซน มาลิค ผู้ซึ่งไม่เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงเลย ได้ทวิตไว้ว่า “ถ้าคุณไม่ได้จับมือหรือส่งของขวัญอะไรเลย คุณก็จะไม่ได้รับการพิจารณาเสนอชื่อเข้าชิงเลย ไว้ปีหน้าผมจะส่งตะกร้าลูกอมให้คุณบ้างนะ”

แล้วเขาก็อธิบายในภายหลังว่าเขากังวล “เกี่ยวกับความจำเป็นในการรวมตัวกันและการขาดความโปร่งใสของกระบวนการเลือกผู้เข้าชิง” พร้อมระบุว่าระบบในตอนนี้ “ปล่อยให้มีการเล่นพรรคเล่นพวก มีการเหยียดเชื้อชาติ และปัจจัยทางการเมืองที่เป็นเครือข่ายเข้ามาส่งอิทธิพลต่อการลงคะแนน”

ในขณะเดียวกัน The Weeknd ซึ่งมีชื่อจริงว่า เอเบิล เทสฟาเย ได้บอกกับนิตยสาร Billboard ว่า “ถ้าคุณเป็นพวกแบบว่า “คุณคิดว่า Grammys เหยียดเชื้อชาติหรอ?” ผมคิดว่าคำตอบที่แท้จริงเพียงคำตอบเดียวนั้นคือตลอด 61 ปีที่ผ่านมาของ Grammys มีศิลปินผิวสีเพียง 10 ท่านเท่านั้นเองที่ได้รับรางวัลอัลบั้มแห่งปี”

ที่มา: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56953057

จำนวนคำที่แปลทั้งหมด: 444 คำ

ระยะเวลาการแปล: 1 ชั่วโมง 37 นาที
English to Thai: BBC - How a tribute band inspired Royal Blood's new music
General field: Art/Literary
Detailed field: Music
Source text - English
How a tribute band inspired Royal Blood's new music

In March 2018, a week before flying out for their South American tour, Royal Blood went to see themselves in concert.
Or rather, the duo had seen a flyer for a Royal Blood cover band, who were playing down the road at Brighton's now-defunct The Haunt. "Why not check them out?", they thought.
"It was very surreal," says frontman Mike Kerr, "but it was also an interesting experience because I guess that's the closest we can really come to knowing what it's like to watch a Royal Blood gig."
He was impressed with what he saw: "The idea of a cover band is bizarre, but they're really good." But the show also gave him a unexpected perspective on Royal Blood's music.
"I took inspiration from it because I realised there were all these styles and atmospheres and moments in our set that were missing," says Kerr.
"If there's anything that inspires my songwriting it's the idea of a setlist, and our new album, I feel, fills a lot of those voids that were in our set before."
Royal Monster, the tribute band, only recently found out how they'd inspired the band who inspired them.
"My jaw dropped," says frontman Dean Whale. "We were a bit lost for words."
"Frankly, the fact that he said he understood what direction he wanted to take after seeing our show is bizarre - but it's excellent all the same," says drummer Rob Dowsett.
"Yeah, it's an honour, really," adds Whale. "Do we get royalties?"
Two years later, thanks to a lockdown-enforced delay, the album is finally ready.
Called Typhoons, it doesn't exactly reinvent Royal Blood's wheel: they're still powered by the kinetic union of Kerr's riffs and Ben Thatcher's thunderous drumming. But this time around they've added rich new textures, from disco string stabs and filtered-down synth to the surprising appearance of a piano ballad.
Kerr says the new sound is all about breaking self-imposed constraints.
"The way we've made records before was so limited. That was intentional, but it was also starving ourselves of these colours and these textures. When we finally made the decision to go forward and do it it was really fulfilling."
To expand their sound, the duo invited in their love of 70s glam rock and cheesy disco: "We're obsessed with the drum sound on those old Boney M records." They also drew on the French house sounds of Daft Punk and Justice.
If that puts off the purists, they couldn't be happier.
"Being in a rock band there can be this restriction on quality, based on making sure it's not too poppy or catchy. We totally got over that idea," says Kerr.
"To us that's preposterous and restrictive. I've always loved that Freddie Mercury idea of extravagant songs. We weren't afraid of this sounding good or catchy."
But behind those technicolour grooves, Kerr's lyrics have taken on a darker hue.
"I let my demons take hold and choke on me," he sings on the ominous Trouble's Coming. Other songs see him confronting "evil in my head" and "thoughts becoming parasites".
"Wake up every morning almost surprised I survived," he concludes on Limbo. "Blood on the pillow/Tears in my eyes/Slept in a murder scene last night."
The words reflect the physical and psychological toll of Royal Blood's stratospheric ascent.
"There were mornings where I woke up and I felt exactly that way," says Kerr. "I am surprised I'm alive. I did go absolutely mental for about seven years."
Royal Blood were only formed in January 2013, but they went from playing pubs to international success in just 18 months.
Championed by the Arctic Monkeys, who invited them to open their huge Finsbury Park shows, the band's debut album went straight to number one in 2014, selling 66,000 copies in a week. The following year, they were named best group at the Brits, with the trophy presented by their hero, Led Zeppelin guitarist Jimmy Page.
By the time of their second album, 2017's How Did We Get So Dark, the band were selling out arenas and touring with Queens Of The Stone Age. But the touring lifestyle did them no favours. Kerr was drinking every day and becoming increasingly unreliable.
"It just escalated," he says. "It wasn't all dark from the beginning. I just picked up this lifestyle that didn't suit me and it began to get the better of me.
"It got to the point where I essentially just tapped out and became incredibly destructive."

'Bored of myself'
His behaviour started to affect the band and his personal life.
"There seems to be romance around being in a dark place and being creative, but that's a load of rubbish," he says. "To be honest, I felt very uninspired. It made my lyrical content quite boring."
Giving up wasn't easy. "It was almost like the toy that was being snatched out of my hands, and I was gripping onto it," he says. But things finally came to a head on a trip to (where else?) Las Vegas. After ordering an espresso martini, Kerr spontaneously decided it would be his last ever drink.
"I could hear myself talking about the same old thing: 'One day I'll get sober and sort everything out,'" Kerr says.
"I was bored of my own conversation. So I was like, 'I've got to take control of this thing.' And it was the best decision I ever made. We wouldn't have this album if I hadn't done that."
He's now two years sober, and says the clarity has "allowed me to be a lot more vulnerable and more articulate about how I'm feeling".
It also gave the band confidence to embrace those house and disco influences - although Kerr says moments like the sweeping electronic synths that close Limbo have always been a hidden part of their sound.
"That whole filter down thing is actually something I always do in the studio, where if I'm writing lyrics, I want to pretend the song is playing next door. Then I imagine I can kind of hear the mumble of the words and I write them down.
"But on that particular song, we did it and it sounded so cool that it we kept it."
Not every song cleaves to the new Royal Blood formula. Boilermaker, produced by Queens Of The Stone Age's Josh Homme, is a twisted mutant rock beast, while the closing track, All We Have Is Now, is a tender, optimistic ballad.
It nearly didn't make the cut, until bandmate Ben Thatcher persuaded Kerr it deserved a place.
"I think it's a really special moment," says the drummer. "I thought it was such a reflection of what Mike can do in his songwriting, and it's something that we have never hinted at with Royal Blood at all. And so, if we're going to put out everything creatively that we enjoy, why shouldn't it go on the record?"
And that seems to be the band's new mantra: "We're not afraid of breaking the rules that we made."
"I feel like this album has given us a future, really," says Kerr.
"It's funny - usually at the end of making an album, there's a feeling of, 'Urgh, I never want to hear that again,' and the idea of writing other songs seems painful. Whereas this one didn't leave that taste in our mouths. I felt inspired to carry on."
But crucially, how will Royal Monster play it live?
"The thing is, we hear the songs when they're released, but we have to wait to see how we perform those songs live before we start working on them - because their live sound is quite a lot different," says Dean Whale.
"We've got tickets to see them play in August, so we'll have to wait a bit... but I think we're gonna be OK."

Source: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56920871

Total translated words: 1314 words

Total translation time: 3 hours 11 mins
Translation - Thai
วิธีการที่วงบรรณาการได้สร้างแรงบันดาลใจให้กับดนตรีของวง Royal Blood

ในปี 2018 หนึ่งสัปดาห์ก่อนที่วง Royal Blood จะบินไปที่ทัวร์ฝั่งอเมริกาใต้ พวกเขาได้ดูพวกเขาเองในคอนเสิร์ตหนึ่ง
หรือถ้าพูดให้ถูกคือ ทั้งสองคู่หูต่างเห็นใบปลิวของวงที่คัฟเวอร์วงของพวกเขาที่กำลังตั้งวงเล่นอยู่ในคลับ The Haunt ที่ตอนนี้ปิดตัวลงแล้วซึ่งอยู่ตามถนนเมืองท่า Brighton “จะไม่ลองเข้าไปดูหน่อยหรอ” ทั้งคู่คิดเช่นนั้น
“มันดูเกินจริงมาก” ไมค์ เคอร์ นักร้องนำวงกล่าว “แต่นั่นก็เป็นประสบการณ์ที่น่าสนใจ เพราะผมว่านั่นมันดูใกล้เคียงที่สุดแล้วที่พวกเราจะได้มารู้ว่ามันเป็นยังไงที่ได้มาดูการแสดงของ Royal Blood จริงๆ”
เขาประทับใจกับสิ่งเขาประสบพบเจอ “ความคิดของวงคัฟเวอร์มันดูบ้าบามาก แต่พวกเขาก็ทำได้ดีจริง ๆ”
“ผมได้รับแรงบันดาลใจจากวงคัฟเวอร์มาเพราะผมตกตะกอนได้ว่ามันเคยมีลีลา บรรยากาศและช่วงเวลาแบบนี้ในงานของเราที่หายไป” เคอร์กล่าว
“ถ้าจะอะไรสักอย่างที่ดลใจการเขียนเพลงของผม มันคือการจัดรายชื่อเพลง และอัลบั้มใหม่ของเรา ผมรู้สึกว่า ผมได้เติมเต็มช่องโหว่เหล่านั้นที่เคยอยู่ในงานของเรามาก่อน”
วงบรรณาการ Royal Monster จึงได้ค้นพบการที่พวกเขาได้สร้างแรงบันดาลใจให้กับวงที่เป็นแรงบันดาลใจให้พวกเขาได้ยังไงในช่วงนี้
“ผมนี่อ้าปากค้างเลย” ดีน เวล นักร้องนำอีกคนกล่าว “เราไม่รู้จะพูดอะไรเท่าไหร่เลย”
“ตรง ๆ เลย ความจริงที่เขาบอกว่าเขาเข้าใจทิศทางที่เขาต้องการจะสานต่อหลังจากเห็นการแสดงของพวกเรามันเหลือเชื่อมาก แต่มันก็สุดยอดมากเช่นเดียวกัน” ร็อบ เดาเซ็ตต์ มือกลองกล่าว
“ใช่ มันเป็นเกียรติจริง ๆ” เวลเสริม “นี่เราได้ค่าลิขสิทธิ์ด้วยไหม?”
สองปีต่อมา ต้องขอบคุณความล่าช้าจากการล็อกดาวน์ อัลบั้มจึงเสร็จพร้อมปล่อยจนได้
อัลบั้มนี้ชื่อว่า Typhoons จริง ๆ มันไม่ได้เหนื่อบ่ากว่าแรงของ Royal Blood เลย พวกเขายังคงได้พลังจากกาประสานที่ลงตัวของท่อนซ้ำแจ็สเคอร์กับการตีกลองที่ดังสนั่นฟ้าของเบน แธตเชอร์เหมือนเดิม แต่ในครั้งนี้พวกเขาได้เพิ่มองค์ประกอบใหม่มากมาย ตั้งแต่การดีดจิ้มกีต้าร์แนวดิสโก้และซินธ์ที่มีการลดความถี่ลง ไปจนถึงการเปิดตัวอย่างน่าทึ่งของแนวเปียโนบัลลาด
เคอร์กล่าวว่าดนตรีแนวใหม่นั้นคือการทำลายขีดจำกัดของตัวเอง
“แนวทางที่เราอัดเพลงมาก่อนหน้านี้มันจำกัดมาก ถึงแม้ว่ามันเกิดขึ้นโดยเจตนา แต่มันก็ทำให้เราโหยหาสีสันและองค์ประกอบเหล่านี้ จนตอนที่เราตัดสินใจที่จะก้าวไปข้างหน้าและทำมันจนได้ ตอนนั้นมันช่างเติมเต็มพวกเราจริง ๆ”
เพื่อที่จะขยายแนวเพลงของพวกเขา สองคู่หูจึงลากแนวเพลงร็อคช่วงยุค 70 สุดแซ่บ และแนวดิสโก้สุดปังที่พวกเขารัก “พวกเราได้แต่หมกมุ่นอยู่กับเสียงกลองของเพลงเก่า ๆ ของ Boney M เหล่านั้น” และพวกเขาก็ยังได้ เล่นกับเพลงแนว House แบบฝรั่งเศสของวง Daft Punk และวง Justice อีกด้วย
ถ้านั่นทำให้คนที่ยึดติดเพลงแนวเดียวผิดหวังละก็ พวกเขาคงไม่มีวันสุขใจไปกว่านี้ได้เลย
“การเป็นวงร็อคมันก็จะมีการจำกัดคุณภาพได้ โดยดูจากการทำให้แน่ใจว่ามันจะไม่เป็นกระแสหรือติดหูเกินไป แต่เราก็ได้ก้าวผ่านแนวคิดนั้นทั้งหมดแล้ว” เคอร์กล่าว
“สำหรับเรานั่นมันไร้เหตุผลและไร้อิสระ ตลอดมาผมยังคงรักแนวคิดของเฟรดดี้ เมอร์คิวรี่ที่มีต่อเพลงที่ฟังดูไม่มีราคา เราไม่เคยกลัวเลยถ้าเพลงมันจะฟังดูดีหรือติดหูขึ้นมา”
แต่เบื้องหลังดนตรีแห่งสีสันเหล่านั้น เนื้อเพลงของเคอร์ก็ได้รับสีสันที่หม่นหมองกว่าเดิมเช่นกัน
“ผมปล่อยให้ปีศาจมันคอยบีบมัดและรัดคอผม” เขาร้องไว้ในเพลง Trouble’s Coming ที่ชวนสังหรณ์ใจ และเพลงอื่น ๆ ก็ได้เผยภาพเขาที่กำลังเผชิญกับ “ความชั่วร้ายในหัวของเขา” และ “ความคิดแปรเปลี่ยนเป็นปรสิต”
“ตื่นขึ้นมาทุกเช้าแทบทึ่งใจที่ฉันยังรอดต่อไปได้” เขาสรุปไว้ในเพลง Limbo “เลือดบนหมอน” “น้ำตาภายในตาฉัน” หรือ “หลับใหลอยู่ในฉากฆาตกรรมเมื่อคืน”
คำที่เขาเลือกใช้สะท้อนถึงการสูญเสียทั้งทางกายและทางจิตของการเหินขึ้นไปอีกขั้นของ Royal Blood
“หลายวันที่ผมตื่นขึ้นมาแล้วรู้สึกไปแบบนั้นจริง ๆ” เคอร์กล่าว “ผมประหลาดใจที่ผมยังมีชีวิตอยู่ เพราะผมควบคุมตัวเองไม่ได้ไปตั้งประมาณเจ็ดปีเลย”
Royal Blood เป็นวงที่เพิ่งก่อตั้งเมื่อเดือนมกราคมปี 2556 แต่พวกเขาได้ไต่ขึ้นมาจากนักร้องตามผับเป็นนักร้องระดับนานาติได้ภายใน 18 เดือนเท่านั้น
อัลบั้มแจ้งเกิดของวงได้ไต่ตรงขึ้นมาเป็นอันดับหนึ่งในปี 2557 มียอดขายสูงถึง 66,000 ชุดในสัปดาห์แรกซึ่งได้รับการสนับสนุนจากวง Arctic Monkeys ที่เชิญชวนพวกเขามาเปิดการแสดงที่ยิ่งใหญ่ที่สวนสาธารณะ Finsbury ในปีต่อมาพวกเขาได้รับการเรียกขานว่าเป็นวงที่ดีที่สุดในสหราชอาณาจักร พร้อมกับรางวัลที่นำเสนอโดยจิมมี่ เพจ มือกีต้าร์แห่งวง Led Zeppelin วีรบุรุษของพวกเขา
ในช่วงของอัลบั้มที่สองของพวกเขาที่ชื่อ How Did We Get So Dark ในปี 2560 ทางวงได้ขายตั๋วเข้าชมหมดเกลี้ยงและได้ออกทัวร์กับวง Queens Of The Stone Age แต่ชีวิตการเดินคอนเสิร์ตทัวร์ไม่โดนใจพวกเขาเลย เคอร์ได้เอาแต่ดื่มเหล้าทุกวันและนับวันก็ยิ่งเชื่อถือไม่ได้มากขึ้นเรื่อย ๆ
“มันเพิ่งจะเริ่มขึ้นเท่านั้น” เขากล่าว “มันไม่ได้หม่นหมองเลยตั้งแต่แรก ผมก็แค่หยิบวิถีชีวิตนี้ที่ไม่ได้เข้ากับตัวผมแต่แล้วมันก็เริ่มที่จะทำให้ผมดูดีขึ้นมา”
“มันไปถึงจุดที่ผมเริ่มรู้สึกพังยับเยินแล้วกลายเป็นพิษเป็นภัยอย่างไม่น่าเชื่อ”

“เบื่อตัวเอง"
พฤติกรรมของเขาได้เริ่มส่งผลกระทบต่อวงและชีวิตส่วนตัวของเขา
“มันดูเหมือนจะเป็นความโรแมนติกที่ได้อยู่ในวนเวียนอยู่กับการอยู่ในที่ที่หม่นหมองพร้อมกับมีอารมณ์สร้างสรรค์ผลงานไปด้วย แต่นั่นก็คือขยะกลุ่มก้อนหนึ่ง” เขากล่าว “ว่ากันตรง ๆ ผมรู้สึกโคตรไม่มีแรงบันดาลใจเลย มันทำให้เนื้อหาของเนื้อเพลงผมดูโคตรน่าเบื่อ”
แต่การล้มเลิกก็ไม่ได้ง่ายเลย “มันแทบเหมือนกับของเล่นที่กำลังจะโดนฉกฉวยไปจากมือผม และผมเองก็กำลังเกาะกระชากมันอยู่” เขากล่าว แต่พวกเขาก็ลงเอยด้วยการไปเที่ยวที่ลาส เวกัส (จะเป็นที่ไหนได้อีก?) หลังจากที่ได้สั่งเหล้าเอสเปรสโซ มาร์ตินี จู่ๆเคอร์ก็ได้ตัดสินใจว่าจะให้มันเป็นเหล้าแก้วสุดท้าย
“ผมได้ยินตัวเองพูดแต่อะไรเดิม ๆ ‘วันนึงผมจะเลิกเป็นไอ้ขี้เมาแล้วจัดการทุกอย่างให้เรียบร้อย’” เขากล่าว
“ผมได้เบื่อกับการพูดคุยกับตัวเอง ผมก็เลยแบบว่า ‘ผมจะต้องควบคุมมันให้ได้’ แล้วมันก็เป็นการตัดสินใจที่ดีที่สุดที่ผมเคยทำมา ไม่อย่างนั้นเราคงไม่ได้อัลบั้มนี้มาเลยถ้าผมไม่ได้ทำแบบนั้น”
ตอนนี้เขาก็เลิกเหล้ามาได้สองปีแล้ว และได้กล่าวว่าภาวะสร่างเมานั้นได้ “ปล่อยให้ผมเป็นคนที่อ่อนไหวขึ้นอย่างมากและชัดเจนมากขึ้นด้วยว่าผมกำลังรู้สึกอะไรยังไง”
มันสร้างความมั่นใจให้กับวงเพื่อที่จะโอบรับอิทธิพลของดนตรีแนวเฮาส์และดิสโก้พวกนั้น ถึงแม้ว่าเคอร์จะกล่าวถึงช่วงเวลาต่าง ๆ เช่นตอนที่ปัดซินธ์ไฟฟ้าตอนท้ายเพลง Limbo ที่เป็นส่วนที่พวกเขาซ่อนไว้ในดนตรีของพวกเขาอยู่มาตลอด
“จริง ๆ ไอ้การลดความถี่ซินธ์อะไรนั่นทั้งหมดคืออะไรที่ผมก็ทำอยู่ในสตูดิโอตลอดนะ อย่างถ้าเป็นตอนที่ผมกำลังเขียนเนื้อเพลงอยู่ ผมก็อยากจะสมมติว่าเพลงนั้นมันเปิดอยู่ข้างบ้าน จากนั้นผมก็จินตนาการเสียงคำบ่นอู้อ้ที่ผมน่าจะได้ยินแล้วก็จดมันลงไป”
“แต่เฉพาะกับบางเพลงนั้น พวกเราก็ทำมันจริง ๆ แล้วมันก็ฟังดูโคตรเฟี้ยวเลย เราเลยเก็บมันไว้”
แต่ก็ไม่ใช่ทุกเพลงที่เป็นไปตามสูตรใหม่ของวง Royal Blood อย่างเพลง Boilermaker ที่ทำโดยจอช ออม แห่งวง Queens Of The Stone Age ก็เป็นเพลงดั่งสัตว์ประหลาดชาวร็อคกลายพันธุ์เพี้ยน ๆ ในขณะที่เพลงปิดอัลบั้มอย่าง All We Have Is Now ก็เป็นเพลงบัลลาดโลกสวยละมุนใจแทน
มันแทบจะตัดจบไม่ได้เลย จนกระทั่งเพื่อนร่วมวงอย่างเบน แธตเชอร์ได้บอกเคอร์ว่ามันเข้าที่เข้าทางแล้ว
“ผมว่ามันเป็นช่วงเวลาที่พิเศษมาก” มือกลองกล่าว “ผมว่ามันเป็นดั่งภาพสะท้อนของอะไรที่ไมค์ทำได้สำหรับการแต่งเพลงของเขา แล้วมันก็เป็นอะไรที่เราไม่เคยเปิดทางให้เลยกับวง Royal Blood เพราะฉะนั้นถ้าพวกเราจะต้องควักทุกอย่างที่เราสนุกกับมันออกมาอย่างสร้างสรรค์ ทำไมเราไม่อัดมันไว้เสียเลยล่ะ?”
แล้วนั่นก็เลยดูเหมือนจะเป็นบทสวดใหม่ของวง “เราไม่กลัวที่จะแหกกฎเกณฑ์ที่เราสร้างไว้”
“ผมรู้สึกราวกับว่าอัลบั้มนี้มันมอบอนาคตให้พวกเรา จริง ๆ นะ” เคอร์กล่าว
“มันตลกที่ปกติตอนท้ายของการทำอัลบั้มมันจะความรู้สึกประมาณว่า “เอ่อ ฉันไม่อยากได้มันอีกครั้งเลย” และความคิดของการเขียนเพลงอื่นก็ดูจะกลายเป็นความทรมาน ในขณะที่อัลบั้มนี้กลับไม่ได้ทิ้งความรู้สึกแบบนั้นเอาไว้เลย ผมรู้สึกมีแรงดลใจให้สานต่อไปได้แล้ว”
แต่ที่สำคัญคือ แล้ววง Royal Monster จะเล่นเพลงอัลบั้มนี้สดได้ยังไง?
“เรื่องก็คือพวกเราจะฟังเพลงตอนพวกเขาปล่อย แต่เราจะต้องรอดูด้วยว่าเราจะแสดงสดกับเพลงเหล่านั้นยังไงก่อนที่เราจะเริ่มดำเนินการมัน เนื่องจากดนตรีสดของพวกเขามันค่อนข้างแตกต่างออกไปอย่างมาก” ดีน เวล กล่าว
“เราได้รับตั๋วเข้าชมพวกเขาแสดงในเดือนสิงหาคมนี้ เพราะฉะนั้นพวกเราจะต้องรอสักระยะหนึ่ง แต่ผมว่าพวกเราก็คงจะโอเคแหละ”

ที่มา: https://www.bbc.com/news/entertainment-arts-56920871

จำนวนคำทั้งหมดที่แปล: 1314 words

ระยะเวลาการแปลทั้งหมด: 3 hours 11 mins
English to Thai: (Song) Champagne Problems - Taylor Swift
General field: Art/Literary
Detailed field: Music
Source text - English
Champagne Problems

[Verse 1]
You booked the night train for a reason
So you could sit there in this hurt
Bustling crowds or silent sleepers
You're not sure which is worse

[Chorus]
Because I dropped your hand while dancing
Left you out there standing
Crestfallen on the landing
Champagne problems
Your mom's ring in your pocket
My picture in your wallet
Your heart was glass, I dropped it
Champagne problems

[Verse 2]
You told your family for a reason
You couldn't keep it in
Your sister splashed out on the bottle
Now no one's celebrating

[Chorus]
Dom Pérignon, you brought it
No crowd of friends applauded
Your hometown skeptics called it
Champagne problems
You had a speech, you're speechless
Love slipped beyond your reaches
And I couldn't give a reason
Champagne problems

[Bridge]
Your Midas touch on the Chevy door
November flush and your flannel cure
"This dorm was once a madhouse"
I made a joke, "Well, it's made for me"

How evergreen, our group of friends
Don't think we'll say that word again
And soon they'll have the nerve to deck the halls
That we once walked through

One for the money, two for the show
I never was ready so I watch you go
Sometimes you just don't know the answer
'Til someone's on their knees and asks you

"She would've made such a lovely bride
What a shame she's fucked in the head," they said
But you'll find the real thing instead
She'll patch up your tapestry that I shred

[Chorus]
And hold your hand while dancing
Never leave you standing
Crestfallen on the landing
With champagne problems
Your mom's ring in your pocket
Her picture in your wallet
You won't remember all my
Champagne problems

[Outro]
You won't remember all my
Champagne problems

Translated Words: 281

Song Length: 4.05 min

Total Translation Time: 2 hours 23 mins
Translation - Thai
ปัญหาบั่นทอนใจ

เธอจองรถไฟเที่ยวดึกด้วยเหตุผลบางอย่าง
เหตุผลที่เธอจะได้นั่งอยู่ในรถไฟนั้นกับความเจ็บปวดนี้
ตู้ที่มีแต่ผู้คนพลุกพล่าน หรือตู้นอนที่เงียบสงัด
เธอเองก็ไม่มั่นใจว่ารถไฟตู้ไหนดูแย่กว่ากัน

เพราะฉันปล่อยมือเธอตอนที่กำลังเต้นด้วยกัน
ปล่อยให้เธอยืนอยู่ตรงนั้นลำพัง
ให้เธอนั่งซึมนั่งเศร้าอยู่ตรงหัวบันได
กลายเป็นปัญหาชวนหนักใจเธอ
แหวนของแม่เธอที่อยู่ในกระเป๋ากางเกง
รูปของฉันที่อยู่ในกระเป๋าสตางค์ของเธอ
หัวใจของเธอก็คือแก้วที่ฉันทำหล่นแตกไป
กลายเป็นปัญหาบั่นทอนใจเธอ

เธอระบายให้ที่บ้านเธอฟังด้วยเหตุผลบางอย่าง
เหตุผลที่เธอไม่สามารถอัดอั้นมันเอาไว้ได้
พี่สาวเธอก็ดันทำเหล้าหกหมดขวดเลย
ตอนนี้เลยไม่มีใครได้ยินดีกับอะไรเลย

เหล้าดอมเปริยองที่เธอพกมา
ซึ่งไม่มีเพื่อนคนไหนปรบมือให้เธอเลย
พวกคนแถวบ้านเธอต่างบอกว่า
มันคือปัญหาชวนหนักใจที่เดี๋ยวเธอก็ผ่านมันไป
เธอมีอะไรจะพูด แต่เธอก็พูดไม่ออก
เพราะความรักที่หลุดมือเธอไปเกินจะไข่คว้ากลับมา
แล้วฉันเองก็ไม่มีเหตุผลอะไรให้เธอได้เลย
กลายเป็นปัญหาบั่นทอนใจให้เธอต้องผ่านมันไป

มือที่จับอะไรก็เป็นเงินเป็นทองบนประตูรถเชฟโรเลตคันนั้น
เดือนสิบเอ็ดที่ถาโถมมาพร้อมเสื้อผ้าสักหลาดที่คอยเยียวยาเธอไว้
“หอพักนี่มันเคยเป็นโรงพยาบาลบ้ามาก่อนนะ”
ฉันเลยแจกมุกไปว่า "งั้นมันก็คงสร้างมาเพื่อฉันนั่นแหละ"

กลุ่มเพื่อนของเรานี่สนิทชิดเชื้อกันขนาดไหนกันนะ
ไม่ต้องคิดเลยว่าพวกเราจะได้พูดอะไรแบบนั้นอีก
และเดี๋ยวสักพักพวกเขาก็จะริเริ่มตกแต่งห้องโถงฉลองวันคริสต์มาสกันแล้ว
ห้องที่ครั้งหนึ่งเราเคยเดินผ่านมันมาด้วยกันไง

นับหนึ่งจนถึงนับสองแล้ว
แต่ฉันก็ไม่เคยพร้อมสักที เลยทำได้แค่มองเธอจากไป
บางครั้งคุณก็แค่ยังไม่รู้คำตอบนั่น
จนกว่าจะมีคนมาคุกเข่าขอคุณแต่งงาน

“นางน่าจะเป็นเจ้าสาวสุดสวยคนนึงเลยนะ
แต่ก็น่าเสียดาย นางคิดบ้าอะไรก็ไม่รู้" เขาว่ากันอย่างนั้น
แต่เดี๋ยวเธอก็จะพบตัวจริงมาแทนฉันเองแหละ
แล้วนางคนนั้นก็จะมาซ่อมผ้าประดับชิ้นนั้นที่ฉันได้ฉีกเป็นชิ้น ๆ ไป

พร้อมกับจับมือเธอตอนเต้นรำด้วยกัน
ไม่มีวันปล่อยให้เธอยืนอยู่ลำพัง
นั่งซึมนั่งเศร้าอยู่ตรงหัวบันได
กับปัญหาชวนกลุ้มใจเหล่านี้
แหวนของแม่เธอที่อยู่ในกระเป๋ากางเกง
รูปของเธอที่จะอยุ่ในกระเป๋าสตางค์เธอ
แล้วเธอก็จะเลิกจดจำ
ทุกปัญหาบั่นทอนใจจากฉัน

แล้วเธอก็จะเลิกจดจำ
ทุกปัญหาบั่นทอนใจจากฉัน

จำนวนคำที่แปล: 281

ความยาวเพลง: 4.05 นาที

เวลาการแปลรวม: 2 ชั่วโมง 23 นาที
English to Thai: (Song) Willow - Taylor Swift
General field: Art/Literary
Detailed field: Music
Source text - English
Willow

[Verse 1]
I'm like the water when your ship rolled in that night
Rough on the surface, but you cut through like a knife
And if it was an open-shut case
I never would've known from that look on your face
Lost in your current like a priceless wine

[Chorus]
The more that you say, the less I know
Wherever you stray, I follow
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man

[Verse 2]
Life was a willow and it bent right to your wind
Head on the pillow, I could feel you sneakin' in
As if you were a mythical thing
Like you were a trophy or a champion ring
And there was one prize I'd cheat to win

[Chorus]
The more that you say, the less I know
Wherever you stray, I follow
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man
You know that my train could take you home
Anywhere else is hollow
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man

[Bridge]
Life was a willow and it bent right to your wind
They count me out time and time again
Life was a willow and it bent right to your wind
But I come back stronger than a '90s trend

[Verse 3]
Wait for the signal, and I'll meet you after dark
Show me the places where the others gave you scars
Now this is an open-shut case
I guess I should've known from the look on your face
Every bait-and-switch was a work of art

[Chorus]
The more that you say, the less I know
Wherever you stray, I follow
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man
You know that my train could take you home
Anywhere else is hollow
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man
The more that you say, the less I know
Wherever you stray, I follow
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man
You know that my train could take you home
Anywhere else is hollow
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man

[Outro]
Hey, that's my man
That's my man
Yeah, that's my man
Every bait-and-switch was a work of art
That's my man
Hey, that's my man
I'm begging for you to take my hand
Wreck my plans, that's my man

Translated Words: 409

Song Length: 3.35 min

Translation Time: 1 hr 23 min
Translation - Thai
ต้นหลิว

ฉันเป็นดั่งผืนน้ำตอนที่เรือของเธอเทียบท่าในคืนนั้น
พื้นผิวน้ำที่คลื่นคลั่ง แต่เธอกลับฝ่าผ่านมันมาดั่งใบมีด
แล้วถ้ามันเป็นเรื่องที่เริ่มต้นและจบลงง่ายๆ
ฉันคงจะไม่มีทางได้รู้อะไรเลยจากสีหน้าของเธอ
คงหลงลืมไปในกระแสน้ำเหมือนกับไวน์ที่ตีราคาไม่ได้

ยิ่งเธอพูดมากขึ้นเท่าไหร่ ฉันก็ยิ่งรู้อะไรน้อยลงเท่านั้น
เธอจะพเนจรไปที่ไหน ฉันก็จะติดตามเธอไป
ฉันจะขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
แล้วมาพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน

ชีวิตก็คือต้นหลิวที่คล้อยไปตามกระแสลมของคุณ
หนุนหัวลงหมอน ฉันรู้สึกได้ว่าเธอกำลังแอบย่องเข้ามา
ราวกับว่าเธอคือสิ่งที่เป็นตำนานเล่าขาน
อย่างกับเธอเป็นอนุสรณ์หรือแหวนแห่งชัยชนะ
ซึ่งก็เป็นเพียงรางวัลเดียวที่ฉันจะยอมโกงเกมเพื่อแลกมันมา

ยิ่งเธอพูดมากขึ้นเท่าไหร่ ฉันก็ยิ่งรู้อะไรน้อยลงเท่านั้น
ไม่ว่าเธอจะพเนจรไปที่ไหน ฉันก็จะติดตามเธอไป
ฉันจะขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
แล้วพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน
เธอก็รู้ว่ารถไฟของฉันพาเธอกลับบ้านได้
ไม่ว่าจะที่ไหนก็มีช่องทางให้ไปทั้งนั้น
ฉันเลยจะขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
มาพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน

ชีวิตก็คือต้นหลิวที่คล้อยไปตามลมกระแสลมของคุณ
พวกเขาเอาแต่ตัดฉันออกไปทีละครั้ง ทีละครั้ง
ชีวิตก็คือต้นหลิวที่คล้อยไปตามลมกระแสลมของคุณ
แต่ฉันก็ได้กลับมาแข็งแกร่งกว่ากระแสยุค 90 เสียอีก

รอสัญญาณเตือนนะ แล้วฉันจะไปพบเธอหลังฟ้ามืด
จงพาฉันไปเจอสถานที่ที่ผู้คนได้สร้างพวกรอยแผลเป็นให้เธอ
คราวนี้มันเป็นเรื่องก็เป็นเรื่องง่ายๆแล้ว
ฉันว่าฉันพอจะดูอะไรออกแล้วจากสีหน้าของเธอ
กลวิธีอ่อยเหยื่อทั้งหมดมันก็คือผลงานศิลปะทั้งนั้น

ยิ่งเธอพูดมากขึ้นเท่าไหร่ ฉันก็ยิ่งรู้อะไรน้อยลงเท่านั้น
ไม่ว่าเธอจะพเนจรไปที่ไหน ฉันก็จะติดตามเธอไป
ฉันจะขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
แล้วพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน
เธอก็รู้ว่ารถไฟของฉันพาเธอกลับบ้านได้
ไม่ว่าจะที่ไหนก็มีช่องทางให้ไปทั้งนั้น
ฉันเลยจะขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
มาพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน

ยิ่งเธอพูดมากขึ้นเท่าไหร่ ฉันก็ยิ่งรู้อะไรน้อยลงเท่านั้น
ไม่ว่าเธอจะสัญจรไปที่ไหน ฉันก็จะคอยตามเธอไป
ฉันขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
มาพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน
เธอก็รู้ว่ารถไฟของฉันพาเธอกลับบ้านได้
ไม่ว่าจะที่ไหนก็มีช่องโหว่ให้ลัดไปได้ทั้งนั้น
ฉันเลยจะขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
แล้วพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน

อื้อ นั่นแหละผู้ชายของฉัน
นั่นแหละผู้ชายของฉัน
ใช่แล้ว นั่นแหละผู้ชายของฉัน
กลยุทธิ์อ่อยเหยื่อทั้งหมดมันก็คือผลงานศิลปะทั้งนั้น
นั่นแหละผู้ชายของฉัน
อื้อ นั่นแหละผู้ชายของฉัน
ฉันจะขอให้เธอจับมือฉันเอาไว้
แล้วมาพังแผนการของฉันเลย นั่นแหละผู้ชายของฉัน

จำนวนคำที่แปล: 409

ความยาวเพลง: 3.35 นาที

ระยะเวลาการแปล: 1 ชั่วโมง 23 นาที
English to Thai: BBC - Covid-19 in India: Patients struggle at home as hospitals choke
General field: Medical
Detailed field: Medical: Health Care
Source text - English
Covid-19 in India: Patients struggle at home as hospitals choke

As hospitals in Delhi and many other cities run out of beds, people have been forced to find ways to get treatment for sick patients at home. Many have turned to the black market, where prices of essential medicines, oxygen cylinders and concentrators have skyrocketed and questionable drugs are now proliferating.

On Monday, India recorded a new global high for daily coronavirus cases for a fifth straight day at 352, 991.

Anshu Priya could not get a hospital bed in Delhi or its suburb of Noida for her father-in-law and as his condition continued to deteriorate. She spent most of Sunday looking for an oxygen cylinder but her search was futile.

So, she finally turned to the black market. She paid a hefty amount - 50,000 rupees ($670; £480) - to procure a cylinder that normally costs 6,000 rupees. With her mother-in-law also struggling to breathe, Anshu knew she may not be able to find or afford another cylinder on the black market.

This is a familiar story not just in Delhi but also in Noida, Lucknow, Allahabad, Indore and so many other cities where families are desperately cobbling together makeshift arrangements at home.

But most of India's population cannot afford to do this. There are already several reports of people dying at the doorsteps of hospitals because they couldn't afford to buy essential drugs and oxygen on the black market.

The BBC called several oxygen cylinder suppliers and most of them asked for at least 10 times more than the normal price.

The situation is particularly dire in Delhi where there are no ICU beds left. Families of those who can afford it are hiring nurses and consulting doctors remotely to keep their loved ones breathing.

But the struggles are huge from getting blood tests done to getting a CT scan or x-ray.

Labs are overrun and it's taking up to three days for test results to come back. This is making it harder for treating doctors to assess the progression of the disease. CT scans are also used by doctors to assess the condition of the patient but it's taking days to get an appointment.

Doctors say that these delays are putting many patients at risk. “RT-PCR tests are also taking days. I know several sick patients who found a bed but couldn't get admitted as they didn't have a positive Covid report.”

Anuj Tiwari hired a nurse to assist in the treatment of his brother at home after he was refused admission in many hospitals.

Some said they didn't have any free beds and others said they were not taking new patients due to continuing uncertainty over the supply of oxygen. A number of patients have died in Delhi due to a lack of oxygen supply. The city's hospitals are desperate and some have been issuing daily warnings, saying they are left with just a few hours of oxygen. Then the government swings into action and tankers are sent, which is often enough to run the hospital for a day.

A doctor in Delhi said that was how hospitals were working and "there are real fears now that a big tragedy may happen".

Given the scenario at hospitals, Mr Tiwari paid a hefty amount to procure a concentrator - which can extract oxygen from the air - keep his brother breathing. The doctor also asked him to arrange the anti-viral drug remdesivir, which has been given emergency-use approval in India and is being prescribed widely by doctors. The benefits of the drug - which was originally developed to treat Ebola - are still being debated across the world.

Mr Tiwari couldn't find the drug in any medicine shop and eventually turned to the black market. His brother's condition continues to be critical and the treating doctor says he may soon need a hospital where remdesvir could be administered.

"There are no beds. What will I do? I can't even take him anywhere else as I have already spent so much money and don't have much left," he said.

He added that "the desperate battle to save Covid patients has shifted from hospitals to home", and even that is proving to be a daunting task as "we don't have easy access to oxygen".

Remdesivir is in such short supply that families of the patients who are being treated at home are rushing to procure it. They want to have the drug in case the patient is required to go to hospital and may need the drug.

The BBC spoke to several dealers on the black market who said the supply was tight and that was why they were charging such high prices. The government has allowed seven firms to manufacture remdesvir in India and they have been told to ramp up production.

But several promises of adequate supply from the government have failed to show any result on the ground. Epidemiologist Dr Lalit Kant says the decision to ramp up production was taken too late and the government should have been prepared for the second wave.

"But somehow the drug is available in the black market, so there is some leakage in the supply system which the regulators haven't been able to plug," he says.

"We learnt nothing from the first wave."

Another drug that is in huge demand is tocilizumab. It is normally used to treat arthritis but studies have shown that it can reduce the chances of a very sick patient needing to go on a ventilator.

Doctors are prescribing the drug mostly to patients who are severely sick. But it has disappeared from the market. Cipla, the Indian company that imports and sells the drug, has been struggling to meet the rising demand.

It usually costs around 32,480 rupees for a vial of 400mg. But Kamal Kumar paid 250,000 rupees to buy one dose for his father. He said the price was "mind boggling" but he had no other option but to pay.

Public health expert Anant Bhan says the government should have procured the drug in huge quantities as not many can afford to buy it in the black market.

"This shows that there was no planning. The government failed to anticipate the wave and plan for it," he says.

"People have been left to their own fate."


Source: https://www.bbc.com/news/world-asia-india-56882167?fbclid=IwAR3SbmJvPPMgNZE5RkoyTqnV6XKgkkGOTxSbPPN3hAY3PhOJ0P69mxQD_TQ

Word count: 1053 words

Total Translation Time: 4 hours 56 minutes
Translation - Thai
โควิด-19 ในประเทศอินเดีย: เหล่าผู้ป่วยต้องดิ้นรนอยู่บ้านเพราะโรงพยาบาลกำลังขาดอากาศหายใจ

เนื่องจากโรงพยาบาลในเมืองเดลีและอีกหลายเมืองมีเตียงไม่มากพอ ผู้คนจึงถูกบีบบังคับให้หาวิธีรับการรักษาที่บ้าน หลายคนต่างหันไปให้ความสนใจตลาดมืดที่ราคาของกลุ่มยาที่จำเป็น พวกถังออกซิเจน และเครื่องฟอกอากาศได้พุ่งทะยานสูงขึ้นและทำให้กลุ่มยาที่เป็นโจทย์ปัญหาอยู่ตอนนี้กำลังแพร่กระจายออกไป

เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาอินเดียทำสถิติสูงสุดใหม่ทั่วโลกสำหรับผู้ติดเชื้อโคโรนาไวรัสรายวันเป็นวันที่ห้าติดต่อกัน โดยมีจำนวนผู้ป่วยรายวันดังกล่าวอยู่ที่ 352,991 ราย

Anshu Priya หาเตียงในโรงพยาบาลในเมืองเดลีหรือในชานเมืองนอยดาให้กับพ่อสามีของเธอไม่ได้เลยในขณะที่อาการของเขาค่อย ๆ แย่ลง เธอใช้เวลาเกือบทั้งวันอาทิตย์ในการตามหาถังออกซิเจน แต่ก็ไม่ได้อะไรกลับมา

สุดท้ายเธอจึงตัดสินใจหันเข้าสู่ตลาดมืด เธอต้องจ่ายเงินไปมากถึง 50,000 รูปี (ประมาณ 21,000 บาท) เพื่อถังออกซิเจนที่ปกติมีราคาเพียง 6,000 รูปีเท่านั้น (ประมาณ 2,500 บาท) นอกจากนี้แม่สามีของเธอเองก็เริ่มจะหายใจลำบากแล้ว Anshu ก็รู้ดีว่าเธอคงไปตามหาถังออกซิเจนอีกถังหรือหาเงินมาซื้อเพิ่มอีกในตลาดมืดไม่ได้แล้ว

เรื่องราวแบบนี้ไม่ได้เกิดขึ้นแค่ในเมืองเดลีเท่านั้น ทั้งในเมืองนอยดา เมืองลัคเนา เมืองอัลลาฮาบัด เมืองอินดอร์ และอีกหลายเมืองมากมายที่มีอีกหลายครอบครัวที่ต่างยังคอยวาดแผนเตรียมการรับมือชั่วคราวอย่างสิ้นหวังอยู่ที่บ้าน

แต่ไม่ใช่ว่าประชากรส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียจะสามารถลงทุนทำสิ่งนี้ได้ มีรายงานเข้ามาหลายคนแล้วที่เสียชีวิตตรงหน้าประตูโรงพยาบาลเพราะพวกเขาไม่มีเงินพอซื้อยาที่จำเป็นและออกซิเจนในตลาดมืดได้

ทาง BBC ได้เรียกผู้จัดหาถังออกซิเจนหลายราย ส่วนใหญ่ขอราคาที่มากกว่าราคาเดิมอย่างต่ำ 10 เท่า

สถานการณ์นั้นแย่ลงมากเป็นพิเศษในเมืองเดลีที่ซึ่งไม่มีเตียง ICU เหลืออยู่แล้ว ครอบครัวของผู้ที่ลงทุนซื้อเตียงได้ต่างคอยจ้างพยาบาลมาและปรึกษาแพทย์จากระยะไกลเพื่อต่อลมหายใจให้กับเหล่าคนที่พวกเขารัก

แต่การฝ่าวิกฤตินั้นยุ่งยากมากตั้งแต่การตรวจเลือดไปจนถึงการทำ CT scan หรือ X-ray

ห้องทดลองต่างวุ่นวายมากและต้องใช้เวลาถึงสามวันกว่าจะรู้ผลการตรวจ ทำให้การดูแลแพทย์เพื่อประเมินความคืบหน้าของโรคนั้นทำได้ยากขึ้น นอกจากนี้ทางกลุ่มแพทย์ก็ได้ใช้การทำ CT scan เพื่อประเมินสภาพของผู้ป่วย แต่ก็ยังต้องใช้เวลาเป็นวัน ๆ กว่าจะนัดผู้ป่วยได้

ทางกลุ่มแพทย์กล่าวว่าความล่าช้าเหล่านี้กำลังพาผู้ป่วยจำนวนมากไปอยู่ในความเสี่ยง “การทดสอบ RT-PCR เองก็ใช้เวลาหลายวัน ผมรู้เรื่องที่มีผู้ป่วยหลายรายที่ได้เตียงมาแต่เข้ารับการรักษาไม่ได้เพราะผลตรวจโควิดไม่ได้เป็นบวก”

ทางด้าน Anuj Tiwari เขาได้จ้างพยาบาลมาช่วยรักษาพี่ชายถึงบ้านหลังจากที่พี่ชายเขาถูกปฏิเสธการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหลายแห่ง

โรงพยาบาลบางแห่งบอกว่าพวกเขาไม่เหลือเตียงฟรีแล้ว ส่วนที่อื่นต่างบอกว่าพวกเขาไม่ได้รับผู้ป่วยรายใหม่ ๆ เลยเนื่องจากยังมีความไม่แน่นอนของปริมาณออกซิเจนที่กักตุนไว้อย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยจำนวนหนึ่งได้เสียชีวิตไปในเมืองเดลีเนื่องจากมีการกักตุนออกซิเจนไม่เพียงพอ โรงพยาบาลในเมืองต่างกำลังสิ้นหวังและบางแห่งก็คอยได้รับคำเตือนรายวันว่าพวกเขาเหลือออกซิเจนให้ใช้ต่อไปได้อีกเพียงไม่กี่ชั่วโมง เช่นนี้รัฐบาลเลยรีบจัดการส่งเรือบรรทุกออกซิเจนตามออกไปซึ่งหลายครั้งก็มากเพียงพอที่จะสนับสนุนโรงพยาบาลได้เต็มหนึ่งวัน

แพทย์คนหนึ่งในเมืองเดลีได้กล่าวว่านั่นคือสภาพการทำงานของโรงพยาบาลหลายแห่ง และ "ตอนนี้มีผู้คนที่กลัวจริง ๆ แล้วว่าอาจจะมีโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่เกิดขึ้น"

เมื่อดูจากสถานการณ์ของโรงพยาบาลหลายแห่ง คุณ Tiwari ได้ให้เงินจำนวนมากเพื่อจัดหาเครื่องฟอกอากาศซึ่งสามารถแยกออกซิเจนออกมาจากอากาศได้ เพื่อประคองลมหายใจของน้องชายของเขา นอกจากนี้แพทย์ยังขอให้เขาจัดหายาต้านไวรัส remdesivir ซึ่งได้รับการอนุมัติให้ใช้ในกรณีฉุกเฉินในประเทศอินเดียและแพทย์หลายคนก็สั่งจ่ายยาตัวนี้กันเป็นวงกว้างด้วย

สำหรับสรรพคุณของยาที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้รักษาโรคอีโบลานั้นยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ทั่วโลก

ทางด้านนาย Tiwari นั้นไม่สามารถหายาตัวนี้ที่ร้านขายยาแห่งไหนwfhเลย และในที่สุดเขาเลยหันไปพึ่งพาตลาดมืด อาการของพี่ชายของเขายังคงตกอยู่ในขั้นวิกฤตและแพทย์ที่ให้การรักษาบอกว่าในไม่ช้าเขาอาจจำเป็นต้องเข้าโรงพยาบาลที่สามารถจ่ายยา remdesivir ได้

“ไม่มีเตียงเหลือแล้ว แล้วผมจะทำอะไรได้? ผมไม่แม้แต่จะพาเขาไปที่ไหนได้อีกแล้ว เพราะผมก็ได้ใช้เงินไปเยอะจนเหลือไม่มากแล้ว” เขากล่าว

เขาเสริมต่อว่า "การต่อสู้อันน่าสิ้นหวังเพื่อช่วยชีวิตเหล่าผู้ป่วยโควิดนั้นได้ย้ายจากที่โรงพยาบาลไปที่บ้านแทนแล้ว" และนั่นยิ่งกลายเป็นภาระใหญ่หลวงที่ชวนหมดไฟได้เนื่องจาก "เราไม่มีหนทางง่าย ๆ ที่จะได้ออกซิเจนมาเลย"

ยา Remdesivir กำลังขาดมือจนครอบครัวของผู้ป่วยที่กำลังได้รับการรักษาที่บ้านกำลังเร่งจัดหามันมา พวกเขาต้องการได้ตัวยานั้นมาในกรณีที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องไปโรงพยาบาลและอาจต้องใช้ยานั้น

ทาง BBC ได้พูดคุยกับตัวแทนจำหน่ายหลายรายในตลาดมืดซึ่งได้กล่าวว่ายาดังกล่าวมีจำนวนจำกัด และนั่นจึงเป็นเหตุให้พวกเขาต้องตั้งราคาสูงเช่นนั้น ทางรัฐบาลจึงได้อนุญาตให้สถานธุรกิจเจ็ดแห่งในอินเดียผลิตยา remdesivir พร้อมสั่งให้ขยายกำลังการผลิต

แต่ทว่าสัญญาทั้งหลายจากทางรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหายาให้มากพอกลับไม่เห็นผลอะไรในสถานการณ์จริงเลย ทางด้าน Dr. Lalit Kant นักระบาดวิทยากล่าวว่าการตกลงสั่งขยายกำลังการผลิตนั้นล่าช้าเกินไป และรัฐบาลควรเตรียมพร้อมที่จะรับมือกับการระบาดระลอกที่สองได้แล้ว

"แต่ยาดังกล่าวก็ยังมีวางจำหน่ายในตลาดมืด ดังนั้นจึงมีช่องโหว่ให้ยาบางส่วนหลุดออกไปจากระบบการจัดหายาได้ซึ่งทางหน่วยควบคุมดูแลยังไม่สามารถอุดช่องโหว่นั้นได้เลย" เขากล่าว

"เราไม่ได้เรียนรู้อะไรเลยจากการระบาดระลอกแรก"

ยาอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่ต้องการอย่างมากคือ tocilizumab ตามปกติยาชนิดนี้จะนำไปใช้ในการรักษาโรคข้อต่ออักเสบ แต่จากการศึกษาพบว่ายานี้สามารถลดโอกาสที่ผู้ป่วยที่อาการหนักจะต้องมาใช้เครื่องช่วยหายใจ

แพทย์ต่างกำลังสั่งจ่ายยาส่วนใหญ่ให้กับผู้ป่วยที่อาการหนักมาก แต่ยาตัวนี้กลับไม่หลงเหลือเลยในตลาด ทาง Cipla บริษัทอินเดียที่นำเข้าและวางจำหน่ายยาตัวนี้จึงกำลังคอยพยายามตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้น

ยาตัวนี้ปกติจะมีราคาประมาณ 32,480 รูปี (ประมาณ 13,600 บาท) สำหรับขวด 400 มก. แต่ Kamal Kumar ต้องจ่ายเงินถึง 250,000 รูปี (ประมาณ 105,100 บาท) เพื่อซื้อยาหนึ่งโดสให้พ่อของเขา เขาบอกว่าราคานั้น "แพงหูฉี่เลย" แต่เขาก็ไม่มีทางเลือกอื่นแล้วนอกจากต้องยอมจ่าย

Anant Bhan ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขกล่าวว่าทางรัฐบาลควรจัดหายาในปริมาณเยอะ ๆ เลยเพราะไม่ได้มีคนเยอะนักเลยที่จะมีเงินหาซื้อตามตลาดมืดได้

“นี่แสดงว่าไม่ได้มีการวางแผนอะไรเลย รัฐบาลได้ล้มเหลวเรื่องการประเมิณสถานการณ์และการวางแผนรับมือการแพร่ระบาดระลอกนี้” เขากล่าว

"ผู้คนต่างถูกปล่อยให้เป็นไปตามยถากรรมของพวกเขา"

ที่มา: https://www.bbc.com/news/world-asia-india-56882167?fbclid=IwAR3SbmJvPPMgNZE5RkoyTqnV6XKgkkGOTxSbPPN3hAY3PhOJ0P69mxQD_TQ

จำนวนคำ: 1053 คำ

ระยะเวลาการแปลรวม: 4 ชั่วโมง 56 นาที
English to Thai: A Little History of Literature (Chapter 5: English Tales)
General field: Art/Literary
Detailed field: Poetry & Literature
Source text - English
CHAPTER 5

English Tales
CHAUCER

English literature – as we know it – starts with Geoffrey Chaucer (c. 1343–1400), 700 years ago. But I'll rephrase that sentence. Not ‘English literature’ but ‘literature in English’ starts with Chaucer. It was a long time before England had a language that unified the speech and writing practice of the whole population – and Chaucer marks the point where we can see it happening, around the fourteenth century.

Compare the two following quotations. They are the opening lines of two great poems written, in what we now think of as England, at almost exactly the same time, toward the end of the fourteenth century:

Forþi an aunter in erde I attle to schawe,
Þat a selly in siɜt summe men hit holden …

When that Aprilis, with his showers swoot,
The drought of March hath pierced to the root …

The first quotation is by someone known only as the ‘Gawain Poet’, and is the opening of Sir Gawain and the Green Knight, a semimythic tale set in the reign of King Arthur (discussed in Chapter 2). The second is by Chaucer and is the opening couplet of The Canterbury Tales.

Most readers – unfamiliar with Anglo-Saxon poetic diction, its two-stress rhythms, half-lines and vocabulary sometimes as alien as Klingon – will make heavy weather of the Gawain example. Only a few of the words hint that it is a kind of English. The second extract (with the information that ‘swoot’ means ‘sweet’) is, for the modern reader, broadly understandable – as is the whole poem, its rhymes and rhythms. With a few words translated for us, most of us can handle the poem in the various early forms in which it was transcribed. And it's more enjoyable in the original. It speaks to us, as we say.

Fine poem though Gawain is, its retention of the language and style of Old English stands at a literary dead end. Those people to whom it once spoke are long gone. There was no future for writing like that – beautiful as the poem is to those today who trouble to learn the dialect in which it is written. Chaucer's ‘new’ English is at the threshold of centuries of great literature to come. He was hailed as ‘Dan’ Chaucer by his follower, the great Elizabethan poet Edmund Spenser – ‘Dan’ is short for Dominus, ‘Master’. The leader of the pack. Chaucer was, Spenser said, ‘the source of English undefiled’. He gave our literature its language. And he himself was the first to do great things with it, opening the way for others to do great things.

It is significant that we know who Chaucer actually was and can see him, as we read, in our mind's eye. Literature, after him, has ‘authors’. We do not know who composed Beowulf. It was probably the work of many anonymous hands and minds. Nor do we know who the ‘Gawain Poet’ was. It could have been more than one person. Who knows?

Much had changed in the regional kingdoms and fiefdoms (estates controlled by lords) of Britain during the half-century that separates Beowulf from The Canterbury Tales. It wasn't just ‘English’ that had happened, but ‘England’ itself. The British Isles were conquered by William, Duke of Normandy, in 1066. ‘The Conqueror’, as he is called, brought with him the apparatus of what we recognise as the modern state. The Normans continued the unification of the land they had invaded, installing an official language, a system of common law, coinage, a class system, Parliament, London as the capital city, and other institutions, many of which have come down to us today. Chaucer was this new England's pioneer author, and his English was the London dialect. One can still hear the old rhythms and vocabularies of Anglo-Saxon literature, even in his verse, but it is subterranean, like a drumbeat reaching us from vibrations in the ground.

So who was this man? He was born Geoffroy de Chaucer, his family name derived from the French chausseur, or ‘shoemaker’. The family had, over the centuries, risen well above the cobbler level and their Norman-French origins. In Geoffrey's time they had connections with, and received favours from, the court. Luckily, under Edward III the country was more or less at peace – although occasional forays were made into France, now a foe with whom England would be at odds for 500 years. Geoffrey's father was in the import/export wine trade. This line of work meant intimate contact with continental Europe, whose literatures (well ahead of England's at the time) would later be drawn on extensively by Geoffrey.

Chaucer may have officially or unofficially attended one of the great universities or he may have received his impressive education from home tutors. We don't know. What is clear is that he came into manhood extraordinarily well read and fluent in several languages. As a young man he craved adventure and embarked on a military career. (One of his two great poems, Troilus and Criseyde, is set in the background of the greatest war in literature – that between the Greeks and Trojans.) In France the young English soldier was taken prisoner and ransomed. In later life his favourite thinker was the Roman poet Boethius who wrote his great treatise, The Consolation of Philosophy, in prison. Chaucer translated it from the original Latin, partly via a French version, into English, and absorbed its thinking, particularly on the uncertainty of ‘fortune’ – life's ups and downs.

On his return from the wars he married and settled down. His wife, Philippa, was nobly born and brought him money as well as status. His private life is a matter of persistent debate. From his often bawdy writings, however, we can assume that Geoffrey Chaucer was not puritanical by nature. The term ‘Chaucerian’ has become proverbial for someone who enjoys life to the full.

His early career was assisted by friends at court. Patronage was how you got on in those days. In 1367 the king settled a generous life pension of twenty marks on him for his service as ‘our beloved Valet’ (courtier). Today we would call Chaucer a civil servant. In the early 1370s, he was employed in the king's service abroad. He may well have met the great Italian writers, Petrarch and Boccaccio, in Italy – then the literary capital of the modern world. Both would go on to be major influences on his own writing.

In the mid-1370s Chaucer was appointed Controller of Customs in the Port of London. This was the highpoint of his professional life. Had he continued to rise in the world it is unlikely that we would have The Canterbury Tales. But in the 1380s, his fortunes declined. His friends and patrons could no longer help him. Now a widower, and out of favour at court, he retired to Kent, where he wrote The Canterbury Tales, his great Kentish poem. He had, at this stage of his life, apparently nothing to do but enjoy life as best he could in his provincial retirement.

The Canterbury Tales and Troilus and Criseyde are two supremely great poems. Both were momentously innovative. They changed literature. Troilus takes Homer's great epic, the Iliad, which Chaucer had picked up from Italian sources, and turns the war story into a love story – a full-blown romance. While the great battle rages outside the walls of Troy, one of the Trojan princes, Troilus, falls madly in love with a widow, Criseyde. Their relationship – as the code of ‘courtly love’ requires – must be kept secret from the world, in part to preserve its purity. She, however, betrays him. It destroys Troilus. Affairs of the heart, the poem intimates, can even overshadow great wars. How many future plays, poems and novels can we see anticipated in that plot?

The Canterbury Tales remains, for modern readers, the best entry-point into Chaucer. Its format was in all likelihood taken from a more modern source than that for Troilus, Boccaccio's Decameron, in which ten refugees from plague-ravaged Florence tell each other tales (100 of them, no less) to while away the weary days of their quarantine. The Decameron is written in prose. The Canterbury Tales, although most of it is written in easy-flowing verse, can, like Boccaccio's book, be read now as a kind of early novel – or bundle of small novels. (See Chapter 12 for more on early novelish works in literature.)

Each of Chaucer's tales is entertaining in its own way, and together they compose a small world, or ‘microcosmos’. The eighteenth-century poet, John Dryden (England's first poet laureate – see Chapter 22), said it contained ‘God's Plenty’. All life is there, from the lofty courtly love woes of ‘The Knight's Tale’ through the bawdy high jinks of the lower-class pilgrims' stories, to the orthodox religious advice given by the Parson. Unfortunately not all the poem is there, in the text we now have. Chaucer wrote his poem a century before the invention of printing presses. We have the poem in imperfect form as it survived in various manuscript transcriptions, none by Chaucer himself.

The narrative opens in April 1387. Twenty-nine pilgrims (including Chaucer, who remains entirely on the edge of things) gather at the Tabard Inn on the south bank of the Thames in London. They intend to make the four-day, 100-odd-mile ‘pilgrimage’, by horse, in company, to the tomb of the martyr Thomas Becket in Canterbury Cathedral. Their host at the inn, Harry Bailey, appoints himself their guide on the journey, and – to foster togetherness and harmony – decrees that each of the pilgrims shall tell two stories on the way to Kent, and two on the way back. This would mean around 116 tales. That design was never completed, and perhaps it was never meant to be or, more likely, that Chaucer died before he had the chance. What has come to us are twenty-four tales, some fragmentary. It's tantalising, but more than enough to get a sense of the work's huge achievement.

Chaucer's pilgrims comprise a mirror of society at the time – strikingly, in many of its features, like our own society. It is not a ‘Christian’ poem, despite its being centred on an act of devotion. The point Chaucer makes is that Christianity is a flexible creed which can contain all types of people in a generally secular social framework. You can be both ‘worldly’ and ‘religious’. Not every day of the week is Sunday. At the time Chaucer was writing, it probably seemed a radically new idea.

Among the pilgrims are a number of ecclesiastics (church people), male and female: a Friar, a Monk, a Prioress, a Summoner, a Pardoner (whom Chaucer particularly despises for ‘selling’ forgiveness of sins) and a Parson (whom Chaucer reveres). These churchmen and women do not, on the whole, much like each other. Nor is the reader led to like all of them.

At the bottom of the social heap are a Cook, a Reeve (a land agent), a Miller and a Shipman (a common sailor). A notch above them are a Merchant and a Franklin – members of the emergent bourgeois class. Both are rich. Likely even richer (well-off enough to have made three trips to Jerusalem) is the ‘Wife of Bath’. A self-made woman, she has prospered by the manufacture of cloth (toile de Nîmes – denim). A veteran widow of five marriages, both battered and educated by her husbands, she is female pluck personified. A feisty woman, she picks fights with her fellow pilgrims (notably the celibate Clerk) on the subject of marriage. She knows more than most about that particular institution – precisely five times more than the Clerk.

Above this mercantile ‘middle class’ are members of what we would now call the professions: a doctor (the Physician), a lawyer (the Man of Law) and an academic (the Clerk – someone who makes a living with his reading and writing skills). Each of the pilgrims is sharply characterised in the ‘General Prologue’ and a shorter prologue to each tale. They live vividly in the reader's imagination. In the overall structure of the tales there emerge a number of debates: on marriage (should a wife be submissive or assertive?), on destiny (how can this pagan concept be combined with Christianity?) and on love (does it – as the Prioress's motto puts it – ‘conquer all’?).

The pilgrim of highest ‘degree’ (social class) and, for that reason, the first tale-teller, is the Knight. His tale, set in ancient Greece, steeped in the codes of courtly love and Boethius's ideas about patiently suffering all misfortune, is appropriately ‘chivalrous’ – that is, knightly. It is followed, almost immediately, by a fabliau, or bawdy tale, told by the Miller. The love he chronicles, about an old carpenter, his young wife, and some mischievous young men, is anything but courtly. Texts of The Canterbury Tales were routinely censored for young readers until well into the twentieth century (including my own school copy, as I still, somewhat resentfully, recall).

Many changes are rung throughout the two-dozen tales, concluding, appropriately, with a highminded and earnest sermon by the Parson, after which the reader can depart in peace and having been thoroughly entertained. Dryden was right. All life is there. Our life as well.

Source: John Sutherland. (2013). A Little History of Literature.

Word count: 2196 words

Translation Time: 3 days
Translation - Thai
บทที่ 5

นิทานอังกฤษ
ชอเซอร์


อย่างที่เรารู้กันว่าวรรณกรรมอังกฤษมีต้นกำเนิดมาจากเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ (Geoffrey Chaucer) (ช่วงปีค.ศ. 1343-1400) เมื่อประมาณ 700 ปีที่แล้ว แต่ผมจะขอกล่าวประโยคนั้นใหม่ว่าไม่ใช่ “วรรณกรรมอังกฤษ” แต่เป็น “วรรณกรรมภาษาอังกฤษ” ต่างหากที่มีต้นกำเนิดมาจากชอเซอร์ ซึ่งชอเซอร์ได้ชี้ให้พวกเราเห็นถึงช่วงเวลาอันยาวนานก่อนที่ประเทศอังกฤษจะมีภาษาที่รวมวีถีการพูดและการเขียนของมวลชนชาวอังกฤษเข้าด้วยกัน ในช่วงประมาณศตวรรษที่ 14

ลองเปรียบเทียบสองคำกลอนด้านล่างนี้ดู โดยทั้งสองคำกลอนคือบทเปิดเรื่องของสองมหากวีนิพนธ์ที่เขียนขึ้นมาในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกันอย่างมากระหว่างช่วงปลายศตวรรษที่ 14 ในแหล่งพื้นที่เราพิจารณากันว่าเป็นประเทศอังกฤษในปัจจุบัน

Forþi an aunter in erde I attle to schawe,
Þat a selly in siɜt summe men hit holden …
เช่นนั้นแล้วภัยผจญท่ามกลางหมู่คนที่ข้าหวังว่าจะนึกขึ้นได้
บ้างก็เห็นบางกลุ่มคนถือครองอำนาจสุดประหลาดนั้นเอาไว้

When that Aprilis, with his showers swoot,
The drought of March hath pierced to the root …
ถึงคราเมษายนพร้อมปรายฝนที่ฉ่ำหวาน
ลมแล้งแห่งมีนาได้ไชมาถึงแกนราก


คำกลอนแรกนั้นเขียนโดยคนที่เป็นที่รู้จักกันในนาม “นักกวีกาเวน” และเป็นตอนเปิดของนิทานกึ่งอภินิหารเรื่อง “ท่านกาเวนและอัศวินสีเขียว” (Sir Gawain and the Green Knight) ซึ่งเป็นเรื่องที่ดำเนินอยู่ในราชสมัยของกษัตริย์อาเธอร์ (ที่ได้อภิปรายกันไปแล้วในบทที่ 2) ส่วนคำกลอนที่สองนั้นเขียนโดยชอเซอร์ และเป็นโคลงเปิดของตำนานแคนเตอร์บรี (The Canterbury Tales)

ผู้อ่านส่วนมากที่ไม่คุ้นเคยกับการใช้ภาษาเชิงวรรณกรรมของแองโกล-แซ็กซอนที่มีจังหวะการเน้นเสียงสองตำแหน่ง การแบ่งครึ่งวรรค และกลุ่มคำที่บางครั้งก็แปลกประหลาดไม่ต่างจากภาษาคลิงงอน (Klingon ภาษาต่างดาวจากภาพยนตร์เรื่อง Star Trek) นั้นจะเข้าถึงตัวอย่างคำกลอนของนักกวีกาเวนได้ยาก มีเพียงแค่ไม่กี่คำเท่านั้นที่พอจะบอกใบ้ให้ได้ว่ามันเป็นภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง ในขณะที่คำกลอนที่สอง (ร่วมกับข้อมูลเพิ่มเติมของ “swoot” ที่มีความหมายว่า “sweet”) นั้นผู้อ่านสมัยใหม่จะสามารถเข้าใจกันได้อย่างทั่วถึง ซึ่งเป็นเพราะการเล่นสัมผัสและจังหวะที่ใช้ในบทกวีทั้งบท ต่อให้มีเพียงบางคำแปลมาให้เราได้อ่านกันก็ตาม แต่พวกเราก็สามารถอ่านบทกวีไม่ว่าจะปรากฏในรูปแบบการถอดความช่วงแรกเริ่มแบบใดก็ตาม และจะอ่านสนุกยิ่งขึ้นเมื่อไปอ่านต้นฉบับ อย่างที่เราเรียกกันว่าบทกวีนั้นพูดคุยกับเรา

ถึงแม้ว่าบทกวีของกาเวนจะเป็นกวีนิพนธ์ที่งดงาม แต่การคงภาษาและลีลาของภาษาอังกฤษยุคเก่า (Old English (OE)) ของตัวกวีนิพนธ์เองนั้นก็ตั้งอยู่ในจุดที่เป็นทางตันเชิงวรรณกรรม เพราะบรรดาผู้พูดภาษาอังกฤษยุคเก่านั้นก็ไม่มีเหลือแล้ว และไม่มีความเป็นไปได้ที่จะมีการประพันธ์แบบนั้นให้เห็นอีกในภายภาคหน้า แม้ว่าจะเป็นการเขียนที่ดูวิจิตรงดงามสำหรับผู้ที่ลงทุนไปศึกษาในถิ่นฐานของภาษาถิ่นที่ใช้ประพันธ์กวีนิพนธ์เรื่องนั้นก็ตาม ภาษาอังกฤษ “แบบใหม่” ของชอเซอร์นั้นจึงกลายเป็นใบเบิกทางเข้าสู่ศตวรรษแห่งวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ในเวลาต่อมา

เอ็ดมันด์ สเปนเซอร์ (Edmund Spenser) ยอดกวีแห่งยุคเอลิซาเบธผู้เดินตามรอยเท้าของชอเซอร์ได้ขานเรียกชอเซอร์ว่า “แดน” ชอเซอร์ (‘Dan’ Chaucer) โดยคำว่า “แดน” เป็นรูปลดทอนมาจากคำว่า “Dominus” ที่หมายถึง “เจ้านาย” หรือก็คือหัวหน้ากลุ่มนั่นเอง สเปนเซอร์ยังกล่าวอีกว่าชอเซอร์คือ “ต้นกำเนิดของภาษาอังกฤษที่ไร้ที่ติ” โดยชอเซอร์ได้มอบ “ภาษา” ให้กับวรรณกรรมของพวกเรา (ซึ่งก็คือภาษาอังกฤษ) และเป็นคนแรกด้วยที่ริเริ่มทำสิ่งที่ยิ่งใหญ่กับภาษานั้น พร้อมทั้งเปิดทางให้คนอื่นได้ทำตามด้วยเช่นเดียวกัน

การได้รับรู้ว่าชอเซอร์เป็นใครอย่างแท้จริง และสามารถเห็นเขาผ่านหน้าต่างของจิตใจของเราได้ทันทีที่เราอ่านนั้นจึงมีผลสำคัญทำให้วรรณกรรมที่เขียนที่ถูกเขียนตามมาต่อจากชอเซอร์นั้นมี “ผู้ประพันธ์” (author) ด้วย เพราะเราไม่รู้ว่าใครเป็นผู้ประพันธ์ เบวูล์ฟ ซึ่งอาจจะเป็นผลงานจากฝีมือและความคิดของผู้ประพันธ์นิรนามหลายท่านก็ได้ แล้วเราก็ไม่รู้ว่า “นักกวีกาเวน” นี้คือใคร เพราะภายใต้ชื่อนักกวีกาเวนนี้อาจจะมีมากกว่าหนึ่งท่านก็ได้ ใครจะรู้?

หลายสิ่งหลายอย่างได้เปลี่ยนแปลงไปตามเขตอาณาจักรเขตศักดินาต่าง ๆ ในเกาะอังกฤษในช่วงระยะห่างราวครึ่งศตวรรษ (50 ปี) จากเบวูล์ฟสู่ตำนานแคนเตอร์บรี ไม่ใช่แค่ “ภาษาอังกฤษ” เท่านั้นที่เกิดขึ้นมา แต่ “ประเทศอังกฤษ” เองก็เกิดขึ้นเช่นกัน

ในปีค.ศ. 1066 หมู่เกาะอังกฤษได้ถูก พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 (William I) ผู้เคยเป็นขุนนางชั้นสูงสุด (Duke) แห่งแคว้นนอร์มองดี (Normandy) (แคว้นทางเหนือในประเทศฝรั่งเศส) เข้ายึดครองอำนาจ “ผู้พิชิต” (The Conqueror) ผู้นี้ได้นำพาระบบที่เราเรียกกันว่า “ระบบรัฐสมัยใหม่” มากับเขาด้วย ชาวนอร์ม็องยังคงดำเนินการสานสัมพันธ์กับดินแดนที่บุกรุกเข้าไป พร้อมทั้งสถาปนาภาษาทางการ ระบบกฎหมายจารีพประเพณี (common law) เหรียญกษาปณ์ ระบบชนชั้น รัฐสภา พร้อมทั้งสถาปนากรุงลอนดอนให้เป็นเมืองหลวง และก่อตั้งสถาบันอีกมากมาย ซึ่งหลายสิ่งดังกล่าวนั้นยังคงหลงเหลือให้เห็นอยู่จวบจนปัจจุบัน ซึ่งชอเซอร์เองก็ได้กลายเป็นนักประพันธ์รุ่นบุกเบิกของประเทศอังกฤษโฉมใหม่นี้ด้วย และภาษาอังกฤษของชอเซอร์นั้นก็คือภาษาอังกฤษถิ่นลอนดอนนั่นเอง

ยังคงมีคนที่เข้าถึงสัมผัสลีลาและการใช้คำแบบเก่าของวรรณกรรมแองโกล-แซ็กซอนได้อยู่เช่นกัน แม้แต่ในบทกวีของชอเซอร์เอง แต่มันซึมซับมาอยู่ในสายเลือด ราวกับจังหวะกลองที่ดังสะท้อนขึ้นมาถึงจากแรงสะเทือนใต้เท้าของเรา

แล้วผู้ชายคนนี้เขาเป็นใครกันแน่? ผู้ชายคนนี้เกิดมาในนามว่า “เจฟฟรีย์ เดอ ชอเซอร์” โดยนามสกุลของชอเซอร์นั้นมีรากคำมาจากคำฝรั่งเศสคำว่า “chausseur” ที่แปลว่า “ช่างทำรองเท้า” โดยตระกูลของชอเซอร์ได้เติบโตขึ้นมาอยู่เหนือระดับช่างทำรองเท้าพร้อมกับเชื้อสายนอร์ม็อง-ฝรั่งเศสของตระกูลมาเป็นระยะเวลากว่าหลายศตวรรษ และในช่วงเวลาของเจฟฟรีย์นั้นทางตระกูลเองก็มีความสัมพันธ์และได้รับความอนุเคราะห์จากราชสำนัก

โชคยังดีที่ในราชสมัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 นั้นประเทศอังกฤษก็ได้สงบลงไม่มากก็น้อย ถึงแม้ว่าจะมีบางโอกาสที่มีการบุกโจมตีประเทศฝรั่งเศสที่ ณ ตอนนั้นเป็นปรปักษ์กับประเทศอังกฤษ และดูท่าจะไม่ลงรอยกันไปอีกนานนับ 500 ปี พ่อของเจฟฟรีย์ก็ทำงานอยู่ในธุรกิจนำเข้า-ส่งออกไวน์ ธุรกิจแบบนี้มีเป้าหมายเพื่อการสารมิตรภาพกับทางทวีปยุโรปที่เจฟฟรีย์ได้เผยแพร่วรรณกรรมมากมาย (ซึ่งพัฒนานำอังกฤษไปไกลแล้วในสมัยนั้น) ไปอย่างกว้างขวาง

ชอเซอร์อาจจะได้เข้าศึกษาอย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ ในหนึ่งในมหาวิทยาลัยที๋โด่งดังหรือเขาอาจจะได้รับการศึกษาที่น่าประทับใจนี้มาจากผู้สอนส่วนตัวที่บ้าน ไม่มีใครทราบแต่สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัด คือชอเซอร์เป็นคนที่มีความสามารถในการอ่านที่ดีเป็นพิเศษและใช้ภาษาหลายภาษาได้อย่างลื่นไหล ชอเซอร์ได้คลั่งไคล้การผจญภัยและลงไปทำงานสายทหารตั้งแต่ยังหนุ่ม (ทรอยลัส และ เครซีดา (Troilus and Criseyde) บทกวีหนึ่งในสองยอดกวีนิพนธ์ของชอเซอร์ เป็นเรื่องที่ดำเนินอยู่ในฉากที่มีภูมิหลังของช่วงสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งวงการวรรณกรรม นั่นคือสงครามระหว่างชาวกรีกและชาวทรอย) จากนั้น ทหารหนุ่มชาวชาวอังกฤษผู้นี้ก็ได้ถูกจำคุกและไถ่ตัวในประเทศฝรั่งเศสในเวลาต่อมา ซึ่งนักคิดคนโปรดในช่วงบั้นปลายชีวิตของชอเซอร์ก็คือนักกวีชาวโรมันที่ชื่อโบอิธิอุส (Boethius) ผู้เขียนตำราปรัชญาที่โด่งดังชื่อ “การปลอบประโลมของปรัชญา” (The Consolation of Philosophy) ในขณะที่โดนจำคุกอยู่นั่นเอง ชอเซอร์ได้แปลตำรานั้นจากต้นฉบับที่เป็นภาละตินมาเป็นภาษาอังกฤษ บางส่วนก็แปลเป็นฉบับภาษาฝรั่งเศส และซึมซับแนวคิดของตำรานั้น โดยเฉพาะในเรื่องของความไม่แน่นอนของ “คำทำนาย” เพราะชีวิตก็มีทั้งขาขึ้นและขาลงของมัน

เมื่อชอเซอร์กลับมาจากสงคราม เขาก็ได้แต่งงานและออกไปตั้งถิ่นฐานของตัวเอง ภรรยาของเขาที่ชื่อว่า ฟิลิปปา (Philippa) นั้นเกิดมาในตระกูลอันสูงศักดิ์ซึ่งก็นำพาฐานะและทรัพย์สินให้กับชอเซอร์ และชีวิตส่วนตัวของเขาก็กลายเป็นปัจจัยของการถกเถียงอย่างยาวนาน อย่างไรก็ตาม เราสามารถคาดเดาได้ว่าเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ผู้นี้ไม่ได้เป็นคนที่เคร่งครัดมาตั้งแต่เกิด เมื่อดูจากผลงานประพันธ์ที่มักจะดูลามกอนาจารย์ของเขา และคำว่า “ชอเซอเรียน” (Chaucerian) ก็ได้กลายมาเป็นคำสุภาษิตที่สื่อถึงคนที่สนุกกับชีวิตจนถึงลมหายใจสุดท้าย

หน้าที่การงานของชอเซอร์ช่วงแรกได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในราชสำนัก ซึ่งการอุปถัมภ์คือวิธีการเลื่อนตำแหน่งในช่วงเวลานั้น ในปีค.ศ. 1367 กษัตริย์ในสมัยนั้นได้มอบเงินบำนาญเป็นจำนวน 20 มาร์กให้กับชอเซอร์สำหรับการรับหน้าที่เป็น “ผู้รับใช้ที่เป็นที่รักของประชาชน” (ซึ่งก็คือข้าราชสำนัก) ทุกวันนี้เราถึงเรียกชอเซอร์กันว่าเป็นข้าราชการพลเรือน

ต่อมาในช่วงต้นทศวรรษ 1370 ชอเซอร์ก็ได้ทำงานรับใช้ส่วนพระองค์ที่ต่างแดน และเขาอาจจะได้พบกับสุดยอดนักเขียนชาวอิตาลีหลายคน ทั้งเพทราร์ก (Petrarch) และโบกกัชโช (Giovanni Boccaccio) ในประเทศอิตาลี ที่จากนั้นก็กลายเป็นประเทศที่เป็นศูนย์กลางแห่งวรรณกรรมของโลก โดยทั้งสองนักเขียนอาจจเป็นอิทธิพลหลักแก่ผลงานประพันธ์ของชอเซอร์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ในช่วงกลางทศวรรษ 1370 ชอเซอร์ได้รับตำแหน่งอธิบดีกรมศุลกากรแห่งท่าเรือของกรุงลอนดอน ซึ่งนับเป็นจุดสูงสุดในชีวิตการทำงานของชอเซอร์ แต่ถ้าหากเขายังคงดำเนินหน้าต่อไปในโลกการทำงานนี้ พวกเราก็คงจะไม่ได้เห็นตำนานแคนเตอร์บรีเลย

ทว่าในช่วงทศวรรษ 1380 โชคชะตาของเขาก็ตกต่ำลง เพราะเหล่ามิตรสหายและผู้สนับสนุนทั้งหลายของเขาผลักดันเขาต่อไปไม่ได้อีกแล้ว ณ ตอนนั้นเอง ชอเซอร์ผู้เป็นทั้งพ่อหม้าย และผู้ที่หมดควาฒโปรดปรานจากราชสำนักก็ปลดตำแหน่งตนเองออกมาอยู่ที่เมืองเคนต์ (Kent) ที่ที่เขาประพันธ์ตำนานแคนเตอร์บรี มหาตำนานแห่งเมืองเคนต์ของเขานั่นเอง ณ ช่วงชีวิตจุดนั้น ชอเซอร์แทบจะไม่หลงเหลืออะไรให้ทำอีกแล้วนอกเสียจากการใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ให้เพลิดเพลินที่สุดเท่าที่เขาจะทำได้อย่างสันโดษนท้องถิ่นนั้น

ตำนานแคนเตอร์บรีและทรอยลัสและเครซีดาเป็นสองมหาวรรณกรรมที่ดูพัฒนามาอย่างมีนัยยะสำคัญ เพราะเป็นสองบทกวีที่เปลี่ยนโลกวรรณกรรมทั้งใบ เรื่องทรอยลัสได้นำเรื่องมาจากมหากาพย์ของโฮเมอร์ (Homer) ที่ชื่อว่า “อีเลียด” (Illiad) ซึ่งชอเซอร์ได้เลือกขึ้นมาจากแหล่งต่าง ๆ ในอิตาลีและเปลี่ยนเนื้อหาจากเรื่องรบมาเป็นเรื่องรัก เป็นตำนานรักที่ครบสูตร ในขณะที่สมรภูมิครั้งยิ่งใหญ่กำลังร้อนระอุอยู่ภายนอกกำแพงกรุงทรอย (Troy) เจ้าหญิงองค์หนึ่งแห่งกรุงทรอยนามว่า “ทรอยลัส” ได้ตกหลุมรักกับหม้ายหนุ่มนามว่า “เครซีดา” (Criseyde) อย่างหัวปักหัวปำ โดยความสัมพันธ์ของทั้งสองคนต้องถูกปิดเป็นความลับจากโลกภายนอกเพื่อที่จะสงวนความบริสุทธิ์ของความรักที่ทั้งสองมีต่อกันเอาไว้ เนื่องจากความรักของทั้งสองคนถูกจัดว่าเป็น “ความรักในราชสำนัก” (courtly love) แต่ทรอยลัสก็ได้ทรยศเครซีดา และมันก็ได้ทำลายตัวเธอเองในที่สุด บทกวีนั้นได้ให้ข้อคิดเตือนใจไว้ว่าความรักทำให้คนตาบอดนั่นเอง เช่นนี้แล้ว จะมีกวีนิพนธ์และนวนิยายอีกมากมายเท่าไรในอนาคตที่เราจะสามารถคาดเดาโครงเรื่องของมันได้?

ตำนานแคนเตอร์บรียังคงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุดของชอเซอร์สำหรับผู้อ่านรุ่นใหม่ โดยลักษณะการเขียนที่ใช้นั้นมาจากแหล่งข้อมูลที่ทันสมัยมากขึ้นกว่าแหล่งข้อมูลของเรื่อง ทรอยลัส และกวีนิพนธ์ของโบกคัชโชที่ชื่อว่า “ตำนานสิบราตรี” (The Decameron) ซึ่งเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยสิบคนจากเมืองฟลอเรนซ์ (Florence) ที่กำลังมีโรคระบาดอยู่มาเล่านิทานของแต่ละคนให้ฟังร่วมกัน (เป็นจำนวน 100 เรื่อง) เพื่อฆ่าช่วงวันเวลาที่พวกเขาถูกกักตัวอยู่ ตำนานสิบราตรีนี้ได้เขียนออกมาเป็นร้อยแก้ว ส่วนตำนานแคนเตอร์บรีเองนั้น ในตอนนี้ แม้ว่าเนื้อหาส่วนใหญ่จะถูกเขียนออกมาเป็นวรรคตอนที่สามารถอ่านได้อย่างลื่นไหล แต่ก็สามารถอ่านได้เสมือนกับนิยายช่วงแรกเริ่ม หรืออ่านเป็นกองนิยายเล่มเล็กก็ได้ (ดูบทที่ 12 สำหรับผลงานวรรณกรรมเชิงนวนิยายช่วงแรกเริ่มเพิ่มเติม)

นิทานของชอเซอร์แต่ละเรื่องนั้นมีการสร้างความบันเทิงที่เฉพาะตัว และนิทานเหล่านั้นก็ได้ประดิษฐ์โลกใบเล็กไปด้วยกัน หรือที่เราเรียกกันว่า “จุลจักรวาล” (microcosmos) จอห์น ไดรเดน (John Dryden) นักกวีช่วงศตวรรษที่ 18 (นักกวีกิตติมศักดิ์ท่านแรกของประเทศอังกฤษ (ดูบทที่ 22)) ได้กล่าวไว้ว่าจุลจักรวาลนั้นเต็มไปด้วย “ความอุดมสมบูรณ์จากพระเจ้า” (God’s Plenty) ซึ่งทุกชีวิตต่างอยู่ในจักรวาลนั้น ตั้งแต่ความทุกข์ทรมานจากความรักในราชสำนักอันสูงส่งของเรื่อง ตำนานอัศวิน (The Knight’s Tale) สู่เรื่องเล่าเกี่ยวกับการละเล่นในวงเหล้าของนักแสวงบุญชั้นล่างอย่างสุดแสนจะหยาบโลน ไปจนถึงคำแนะนำทางศาสนาคริสต์นิกายออร์ธอด็อกซ์จากเรื่อง “บาทหลวง” (The Parson) โชคไม่ดีนักที่ไม่ใช่กวีนิพนธ์ทุกเรื่องจะยังอยู่ในจักรวาลนั้น ซึ่งคือในตัวบทที่เรามีในตอนนี้ อย่างไรก็ตาม ชอเซอร์ได้เขียนบทกวีนิพนธ์ต่าง ๆ ของเขามานับศตวรรษก่อนที่จะมีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ เรามีกวีนิพนธ์ฉบับที่ไม่สมบูรณ์เพราะกวีนิพนธ์นั้นเหลือรอดมาจากการลอกความจากต้นฉบับลายมือมากหมายหลายฉบับ ซึ่งไม่มีฉบับไหนเลยที่เขียนเป็นลายมือของชอเซอร์เอง

เรื่องราวของตำนานแคนเตอร์บรีนั้นได้เริ่มต้นขึ้นในเดือนเมษายนปีค.ศ. 1387 โดยนักแสวงบุญกว่า 29 คน (รวมถึงชอเซอร์ ผู้ที่ยังคงดำรงตนไปตลอดชายขอบของเรื่องด้วย) ได้รวมตัวกันที่โรงเตี๊ยมทาบาร์ด (Tabard Inn) ทางตอนใต้ของแม่น้ำเธมส์ (Thames) ในกรุงลอนดอน นักแสวงบุญเหล่านั้นประสงค์ที่จะเดินทางด้วยกันไปยังสุสานของธอมัส เบ็กเก็ต (Thomas Becket) ที่โบสถ์แคนเตอร์บรีเป็นเวลา 4 วันในระยะทางกว่า 160 กิโลเมตรด้วยม้าจาริกแสวงบุญ เจ้าของโรงเตี๊ยมชื่อ แฮร์รี เบลีย์ (Harry Bailey) ได้เสนอตนเองเข้าร่วมนำทางการเดินทางของเลห่านักแสวงบุญ และให้เงื่อนไขว่านักแสวงบุญแต่ละคนจะต้องเล่าเรื่องเล่าคนละสองเรื่องตลอดทางไปยังเมืองเคนต์ และอีกสองเรื่องตลอดทางขากลับ เพื่อที่จะประคับประคองความสามัคคีและความเป็นปึกแผ่นของเหล่านักแสวงบุญนั่นเอง ซึ่งหมายความว่าจะมีเรื่องเล่าเป็นจำนวน 116 เรื่อง แต่ทว่าเป้าหมายนั้นก็ไม่เคยบรรลุ และบางทีมันอาจจะไม่เคยเป็นไป หรือยิ่งไปกว่านั้น อาจเป็นเพราะชอเซอร์ได้จากไปก่อนที่เขาจะมีโอกาส สิ่งที่หลงเหลือมาถึงเราได้คือเรื่องเล่าทั้ง 24 เรื่องที่บางเรื่องเองก็ดูไม่เป็นชิ้นเป็นอันเท่าไรนัก ซึ่งทำให้น่าติดตามต่ออย่างมาก แต่ที่มีอยู่นั้นก็มากพอแล้วที่จะสามารถเข้าถึงภาพความสำเร็จอันยิ่งใหญ่เหล่านั้นได้

เหล่านักแสวงบุญของชอเซอร์นั้นก็คือกระจกที่สะท้อนสังคมในช่วงเวลานั้น ซึ่งมีหลายคุณสมบัติด้วยกันที่เหมือนกับสังคมในช่วงเวลาปัจจุบันของเราอย่างน่าตะลึง ถึงแม้ว่าตำนานแคนเตอร์บรีนี้จะมุ่งเน้นไปที่เรื่องของการอุทิศตน แต่ตำนานนี้ไม่ใช่บทกวีทางศาสนาคริสต์ ข้อคิดที่ชอเซอร์ได้เสนอไว้ก็คือ คริสต์ศาสนานั้นคือหลักความเชื่อทางศาสนาที่พลิกแพลงได้ซึ่งสามารถรวบรวมผู้คนทุกประเภทเอาไว้ในกรอบสังคมทางโลกทั่วไป “คุณสามารถเป็นคนที่อยู่ในทั้ง “ทางโลก” และ “ทางธรรม” ไปพร้อมกันได้ เพราะไม่ใช่ทุกวันในสัปดาห์ที่เป็นวันอาทิตย์” แนวคิดนี้ก็อาจจะดูเป็นแนวคิดที่ใหม่แบบสุดโต่งในช่วงเวลาที่ชอเซอร์กำลังประพันธ์กวีนิพนธ์นี้

ท่ามกลางเหล่านักแสวงบุญก็มีเหล่านักธรรม (สมาชิกในโบสถ์) ทั้งชายและหญิง ทั้งนักบวช พระสงฆ์ รองหัวหน้าชี ผู้อันเชิญ และผู้ขายใบไถ่บาป (ผู้ถูกชอเซอร์เกลียดชังจากการที่เขา “ขาย” การอภัยบาป) และนักเทศน์ (ผู้ที่ชอเซอร์เทิดทูน) อุบาสกและอุบาสิกาเหล่านี้ต่างไม่ได้ชอบหน้ากันนัก และแม้แต่คนอ่านเองก็ไม่ได้ถูกชักจูงให้ชื่นชอบพวกเขาทั้งหมดเลย

กลุ่มคนที่อยู่ตำแหน่งต่ำสุดของสังคมกลุ่มนี้ก็คือคนครัว นายหน้าขายที่ดิน คนสีข้าว และกะลาสีเรือ กลุ่มคนที่อยู่สูงขึ้นมาจากนั้นอีกได้แก่พ่อค้า และเจ้าของที่ดินซึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่มคนชนชั้นกระฎุมพี ทั้งสองคนนั้นร่ำรวยด้วย แต่ที่ดูจะร่ำรวยกว่า (ขนาดที่สามารถไปท่องเที่ยวเยรูซาเล็มได้ถึงสามครั้ง) ก็น่าจะเป็น “คุณนายแห่งเมืองบาธ” ซึ่งเป็นผู้หญิงที่สามารถประคองตัวเองให้มีฐานะร่ำรวยได้โดยการทำกิจการผ้าทอ (หรือผ้าเดนีมจากฝรั่งเศส) คุณนายผู้เป็นหม้ายสาวมากประสบการณ์จากการแต่งงานร่วมห้าครั้ง ซึ่งมีทั้งสามีที่คอยรุมโทรมเธอและคอยพร่ำสอนเธอให้รู้หนังสือผู้นี้ ได้รับการยกย่องให้เป็นตัวแทนด้านความกล้าหาญของผู้หญิง โดยสาวผู้ห้าวหาญคนนี้ได้คอยแต่เอาแต่ทะเลาะกับนักแสวงบุญท่านอื่น (โดยเฉพาะกับเสมียนที่ยังโสดบริสุทธิ์) ในเรื่องของชีวิตการแต่งงาน เพราะเธอรู้เรื่องเกี่ยวกับสถาบันนั้นเป็นพิเศษกว่าใคร และแน่นอนว่ามากกว่าคุณเสมียนเป็นห้าเท่า

เหนือขึ้นไปจากกลุ่มผู้ค้าขาย “ชนชั้นกลาง” นี้ก็คือเหล่ากลุ่มคนมืออาชีพต่าง ๆ เช่นแพทย์ นิติกร และนักวิชาการ (หรือเสมียนผู้ใช้ชีวิตอยู่กับทักษะการอ่านและการเขียนของเขา) ชอเซอร์ได้เสนอบุคลิกตัวละครและตัวเอาไว้อย่างเห็นได้ชัดใน “อารัมภบทร่วม” (General Prologue) และอารัมภบทเกริ่นนำของแต่ละตำนานเอง ตัวละครเหล่านั้นดำเนินตัวตนได้อย่างมีชีวิตชีวาในทโนทัศน์ของผู้อ่าน มีการนำเสนอหัวข้อการโต้แย้งเป็นจำนวนหนึ่งในโครงสร้างภาพรวมของตำนานทั้งหมด ได้แก่เรื่องชีวิตในสมรส (ผู้เป็นภรรยาควรจะเป็นผู้ตาม หรือเป็นผู้นำ?) เรื่องพรหมลิขิต (วิธีการที่แนวคิดคนนอกรีดถูกผูกมัดเข้ากับคริสต์ศาสนา?) และเรื่องความรัก (ตามที่รองหัวหน้าชีได้ให้หลักแนวคิดไว้ว่า “ความรักชนะทุกอย่าง” นั้นจริงหรือไม่?)


ผู้แสวงบุญที่อยู่ใน “ระดับ” สูงสุด (ของชนชั้นทางสังคม) และด้วยเหตุนั้นก็เป็นผู้เล่าตำนานคนแรกด้วย นั่นก็คืออัศวิน ตำนานอัศวินซึ่งเกิดขึ้นในดินแดนกรีกโบราณ โดยมุ่งเน้นไปที่ความรักในราชสำนักและหลักแนวคิดของโบอิธิอุสเกี่ยวกับการทนทุกข์ทรมานกับความอาภัพทุกประการนั้นเป็นตำนานที่แสดงภาพอัศวินได้อย่างสมศักดิ์ศรี ตามมาเกือบจะทันทีด้วยตำนานแฟบลิโอ (Fabliau) หรือเรื่องราวของความหยาบโลน เล่าโดยของคนสีข้าว ตำนานแฟบลิโอซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรักของช่างไม้แก่ ภรรยาสาว และพ่อหนุ่มเจ้าเล่ห์คนหนึ่งนั้นไม่ใช่เรื่องที่สวยงามอะไรนัก ส่วนตัวบทของตำนานแคนเตอร์บรีเองก็ถูกจำกัดไม่ให้ผู้อ่านวัยเยาว์ได้อ่านตลอดเวลามาจนถึงศตวรรษที่ 20 (รวมไปถึงฉบับของโรงเรียนของผมเอง เท่าที่ผมยังพอจะนึกย้อนกลับไปได้อย่างไม่พอใจเท่าไร)

ความเปลี่ยนแปลงหลายอย่างนั้นได้ส่งเสียงก้องกังวานออกมาผ่านตำนานจำนวนสองโหลนี้ ซึ่งโดยสรุปอย่างเหมาะสมแล้ว พร้อมกับคำสอนอันสูงส่งและเที่ยงแท้จากนักเทศน์ เพื่อให้ผู้อ่านได้สามารถแยกย้ายไปอย่างสงบและรู้สึกบันเทิงเริงใจอย่างเต็มที่หลังจากนี้ ไดรเดนได้พูดถูกแล้วว่า ภาพชีวิตทุกภาพนั้นอยู่ในตำนานนั้น เช่นเดียวกันกับภาพชีวิตของพวกเรา

ที่มา: John Sutherland. (2013). A Little History of Literature.

จำนวนคำ: 2196 words

ระยะเวลาการแปล: 3 days

Translation education Bachelor's degree - Thammasat University
Experience Years of experience: 3. Registered at ProZ.com: Apr 2021.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software N/A
CV/Resume English (PDF)
Professional objectives
  • Meet new translation company clients
  • Meet new end/direct clients
  • Work for non-profits or pro-bono clients
  • Network with other language professionals
  • Find trusted individuals to outsource work to
  • Build or grow a translation team
  • Get help with terminology and resources
  • Learn more about translation / improve my skills
  • Learn more about interpreting / improve my skills
  • Get help on technical issues / improve my technical skills
  • Learn more about additional services I can provide my clients
  • Learn more about the business side of freelancing
  • Find a mentor
  • Stay up to date on what is happening in the language industry
  • Help or teach others with what I have learned over the years
  • Transition from freelancer to agency owner
  • Transition from freelancer to another profession
  • Buy or learn new work-related software
  • Improve my productivity
Bio

A Thai-native graduated linguist from department of linguistics, faculty of liberal arts at Thammasat University. Also a writer writing blogs and articles in the fields of art, linguistics, music, literature, sociology, philosophy, and psychology. Aside from native language, Thai, 2 languages have been being learned including English (B2) and Japanese (JLPT-N3).

I have been interested in translation job since I enrolled the language translation course in the university and I felt like this is the work for me since then. I also love to translate stuff to share the world the information I got from people of other languages I know, which means other cultures too.

I have been studying Japanese for 6 years too (to JLPT-N3 level and still studying). So, with linguistic approaches, I can also work on Japanese translation too.

Also, since I have deep passion in art, music, game and literature, any contents that are related to those fields, I am sure I also understand them well enough to translate them into the languages I know.

Keywords: thai, english, linguistics, art, music, literature, philosophy, psychology, sociology, marketing. See more.thai, english, linguistics, art, music, literature, philosophy, psychology, sociology, marketing, graphic design, illustration, visual art, photography, game, ludology. See less.


Profile last updated
Jun 17, 2021



More translators and interpreters: English to Thai - Japanese to Thai - Thai to English   More language pairs